Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74014
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Thongchai Phuwanatwichit | - |
dc.contributor.advisor | Charin Mangkhang | - |
dc.contributor.advisor | Atchara Kerdtep | - |
dc.contributor.author | Nipitpon Nanthawong | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-29T15:26:35Z | - |
dc.date.available | 2022-08-29T15:26:35Z | - |
dc.date.issued | 2021 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74014 | - |
dc.description.abstract | The research entitled "Identity of Self-reliance of LGBT Elderly in Chiang Mai Area" was aimed 1) to study contexts of life, problems, and obstacles of LGBT elderly, 2) to examine the process of identity construction of LGBT elderly, and 3) to explore a guideline for adaptation and self-reliance of LGBT elderly in Chiang Mai Province. The researcher employed a structured interview form by conducting an in-depth interview to collect data from the LGBT elderly persons. The researcher determined age range of the samples who were baby boomers (1943- 1964) with age varied from 57-78 years, totaling 14 persons, selected with snowball sampling technique. The findings could be summarized as follows. 1. Contexts of life, problems, and obstacles of LGBT elderly persons in Chiang Mai Province were found that childhood experience played an important role in constructing sexual identity of LGBT elderly persons. Most of them realized that they had different sexual identity since their childhood. Meanwhile, the definition of identity remained under a narrow concept, which was different from present time. They desired to build up their family like others in the society. At present, people are more open about sexual identity than in the past, enabling them to spend their life easier, and they can full express their true sexual identity. 2. Process of identity construction of the LGBT elderly persons in Chiang Mai Province: The findings revealed that the identity development process was initiated from 2 main processes including 1) perception of causes or internal-identity realization, and 2) self-acceptance and living their normal life by their sexual orientation. 3. Guideline for adaptation and self-reliance of LGBT elderly persons in Chiang Mai Province: It was found that LGBT elderly persons adapted themselves to correspond with social contexts. The most important factor was formation of acceptance with people in their family and in the society. Meanwhile, self-reliance comprised 3 aspects including mental, economic and social attributes. As to a guideline for learning management to enbance citizenship and equality, keywords should be added leading to a guideline of instruction for the teachers. The lifelong learning management process was based on "KCS for LGBT Aging Model", which could enable LGBT elderly persons to enjoy learning from what they have inside or from environments around them, and develop themselves to be a quality and self-reliant elderly person. This process would be integrated with a conceptual framework of active aging, composed of 3 characteristics, 4 goals and 4 learning contents as follows. The 3 main characteristics included knowledge, culture and sustainability, while 4 goals were 1) L: Learning 2) G: Gap 3) B: Balance and 4) T: Transform. The 5 learning contents comprised 1) health and sanitation with elderly persons, 2) social, cultural and mental adaptation pf LGBT elderly persons, 3) financial management and savings for LGBT elderly persons, 4) skills and occupations for the aged persons and 5) laws, rights, equality, and social impartiality that LGBT elderly persons should realize. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Identity of self-reliance of LGBT aging in Chiang Mai area | en_US |
dc.title.alternative | อัตลักษณ์การพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ในพื้นที่เชียงใหม่ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | Older people -- Chiang Mai | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Older people -- Sexual behavior | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Older people -- Conduct of life | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Older people -- Self-rating of | - |
thailis.controlvocab.lcsh | Identity (Philosophical concept) | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยเรื่อง "อัตลักษณ์การพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ในพื้นที่เชียงใหม่" มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบริบทวิถีชีวิต ปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มผู้สูงอายุ แอล จี บี ที่ 2) กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ตลอดถึง 3) ศึกษาแนวทางในการปรับตัวและ การพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ในจังหวัดเชียงใหม่ ผู้วิจัยได้ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง (structured interview) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) เก็บข้อมูลจากกลุ่มผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ที่ผู้วิจัยได้กำหนดช่วงอายุโดยใช้ ช่วงเจนเนอเรชั่นเบบี้บูมส์ (Baby Boom) พ.ศ. 2486-2507 หรือกลุ่มคนที่อยู่ในช่วงอายุ 57 - 78 ปี ในเขตจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 14 คน ที่ได้มาจากการคัดเลือก กลุ่มตัวอย่างแบบลูกโซ่ (snowball technique) ผลการศึกษาสรุปได้ดังต่อไปนี้ 1. บริบทวิถีชีวิต ปัญหาและอุปสรรคของกลุ่มผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ประสบการณ์ในวัยเด็ก เป็นส่วนสำคัญในการสร้างความเป็นอัตลักษณ์ทางเพศของสู้สูงอายุ แอล จี บี ที ส่วนใหญ่รู้ว่าตนเองมีอัตลักษณ์ทางเพศที่แตกต่างจากคนทั่วไปตั้งแต่วัยเด็ก ในขณะที่ คำนิยามอัตลักษณ์ยังอยู่ในมโนทัศน์ที่คับแคบ แตกต่างจากปัจจุบัน และต้องการที่จะสร้างครอบครัว เช่นเดียวกับคนทั่วไปในสังคม ปัจจุบันคนในสังคมมีการเปิดกว้างเรื่องของอัตลักษณ์ทางเพศมากขึ้น กว่าในสมัยก่อนเป็นอย่างมาก ทำให้การใช้ชีวิตในปัจจุบัน ก่อนข้างง่าย และสามารถแสดงอัตลักษณ์ ทางเพศของตนเองได้อย่างเต็มที่ 2. กระบวนการสร้างอัตลักษณ์ของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า จุดเริ่มต้น ของการกระบวนการพัฒนาอัตลักษณ์ เกิดจาก 2 กระบวนการหลัก ได้แก่ 1) การรับรู้สาเหตุ หรือ การ รับรู้อัตลักษณ์จากภายใน หลังจากนั้นจะเข้าสู่ 2) การยอมรับตนเอง (Self-acceptance) และดำเนินชีวิต ตามเพศวิถีของตนเองอย่างสม่ำเสมอ 3. แนวทางในการปรับตัวและการพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที ในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า การปรับตัวของผู้สูงอายุ แอล จี บี ที่ มีการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับบริบททางสังคม ปัจจัยสำคัญที่สุด ได้แก่ การสร้างการยอมรับต่อคนในครอบครัว สังคมภายนอก ในขณะที่การ พึ่งตนเอง มี 3 ด้าน ได้แก่ ด้านจิตใจ ด้านเศรษฐกิจ และ สังคม ในส่วนแนวทางการจัดการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างความเป็นพลเมืองเสมอภาค เสนอให้บรรจุ "คำสำคัญ (keyword)"เพื่อส่งผลให้เกิด แนวทางการสอน สำหรับครูผู้สอน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ใช้กระบวนการ "KCS for LGBT Aging Model" ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุ แอล จี บี ที มีความสุข สนุกในการเรียนรู้จากสิ่ง ที่อยู่ภายในตัวเอง หรือสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว มีการพัฒนาดนเองเป็นผู้สูงอายุ ที่มีคุณภาพ และสามารถ พึ่งตนเองได้ โดยมีการบูรณาการผ่านกรอบแนวคิดพฤฒพลัง (active aging) ซึ่ง ประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ 4 เป้าหมาย ผ่าน 5 เนื้อหาการเรียนรู้ หลัก ดังนี้ 3 คุณลักษณะหลัก ได้แก่ 1) ความรู้ (Knowledge) 2) วัฒนธรรม (Culture) 3) ยั่งยืน (Sustainable) มี 4 เป้าหมาย ได้แก่ 1) L: Lcamning 2) G: Gap 3) B: Balance และท้ายที่สุด 4) T: Transform ผ่าน 5 เนื้อหาการเรียนรู้ คือ 1) สุขภาพ อนามัยกับผู้สูงวัย 2) การปรับตัวทางสังคม วัฒนธรรม และ จิตใจ ของผู้สูงอายุแอล จี บี ที 3) การ จัดการการเงินและการออมสำหรับผู้สูงอายุแอล จี บี ที 4) ทักษะ และการสร้างอาชีพให้กับผู้สูงอายุ และ 5) กฎหมาย สิทธิ ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางสังคมที่ผู้สูงอายุ แอล จี มี ที่ควรรู้ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600251004 นิพิฐพนธ์ นันทะวงศ์.pdf | 2.85 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.