Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินดา ศรีวัฒนะ-
dc.contributor.advisorโปรดปราน ทาเขียว อันเจลิ-
dc.contributor.advisorนิรมล อุตมอ่าง-
dc.contributor.authorสุพัตรา แลดีen_US
dc.date.accessioned2022-08-29T15:05:49Z-
dc.date.available2022-08-29T15:05:49Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74008-
dc.description.abstractThis research aimed to compare flavor precursors of Arabica coffee and to study the effect of roasting processes on the physical, chemical, and sensory properties of coffee. The flavor precursors of six coffee samples, (1) Omkoi organic, (2) Khun Chang Khian, (3) Doi Chang, (4) Doi Chang peaberry, (5) Pha Tang, and (6) Khun Lao, harvested from Chiang Mai and Chiang Rai in the year 2017 and 2018 were analyzed. The investigated properties included moisture content, ash, protein, fat, carbohydrate, trigonelline, total phenolic, profiles of amino acids and fatty acid, and sugars of those coffee samples. It was found that Omkoi organic and Doi Chang coffee contained the highest contents of fructose, glucose, sucrose, amino acids, trigonelline, chlorogenic acid and caffeine. The effect of roasting processes on physical, chemical, and sensory properties were investigated. There were two types of coffee roasters used in this experiment, drum and infrared roasters. The experimental design of 2x2 Factorial with 2 center points were applied with two factors of temperature and time of roasting. Moisture content, weight loss, bulk density, color, total phenolic, trigonelline, caffeine, flavor profile, and sensory properties of Omkoi organic and Doi Chang coffee were analyzed. It was found that moisture contents and bulk density of coffee roasted using infrared roaster were lower than ones that roasted using drum roaster. Higher roasting temperature and time resulted in a darker color of coffee bean. The color homogeneity of coffee beans roasted by infrared roaster were better than the ones roasted by drum roaster. For both types of coffee roasters, total phenolic, trigonelline, and caffeine contents tended to decrease when increasing temperature and time of roasting. The profiles of volatile organic compounds of coffee roasted from both roasters were similar. There were 64 compounds identified, consisted of 4 pyridines, 11 pyrazines, 12 ketones, 4 pyrroles, 5 phenols, 3 aldehydes, 22 furans, and 3 organic acids. The compound presented in the highest quantity was 2-furan methanol. In addition to that 5-methy1-2-furancarboxaldehyde, 2-fiuranmethanol acetate, furfural and 1-(acetyloxy)-2-propanone were found to be the dominant volatiles. It can be stated that coffee roasted by drum roaster contained higher amounts of volatile compounds. The sensory evaluation of Omkoi organic and Doi Chang roasted coffee was carried out by Q-graders of Hillkoff Company Limited. Omkoi organic and Doi Chang coffee roasted at any conditions were categorized as good to very good groups with the marks about 80 points. Interestingly, Omkoi organic coffee roasted using infrared roaster at 155 C for 7 min and at 1 70 C for 6 min 30 second were categorized as excellent coffee. The remarkable flavor character of roasted coffee described by Q-graders were caramel, vanilla, honey, citrus, flower, milk, and butter.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเปรียบเทียบองค์ประกอบของสารตั้งต้นของสารให้กลิ่นรสของกาแฟพันธุ์อะราบิกาและผลของการคั่วต่อคุณภาพทางเคมีกายภาพ และทางประสาทสัมผัสของกาแฟen_US
dc.title.alternativeComparison of Arabica coffee flavor precursors and effect of roasting on the physicochemical and sensory qualities of coffeeen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashกาแฟ -- พันธุ์อราบีก้า-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์กาแฟ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเปรียบเทียบองค์ประกอบของสารตั้งต้นสารให้กลิ่นรส ในกาแฟอะราบิกา และผลของการคั่วที่มีต่อสมบัติทางเคมีกายภาพและทางประสาทสัมผัสของกาแฟ วิเคราะห์ปริมาณขององค์ประกอบของสารตั้งต้นสารให้กลิ่นรสกาแฟ โดยใช้ตัวอย่างกาแฟอะราบิกา ปลูกในจังหวัดเชียงใหม่ และเชียงรายรวม 6 ตัวอย่าง ได้แก่ กาแฟอมก๋อยออร์แกนิต กาแฟขุนช่างเคี่ยน กาแฟดอยช้าง กาแฟดอยช้างพีเบอร์รี กาแฟผาตั้ง และกาแฟขุนลาว โดยเมล็ดกาแฟ เป็นผลผลิตที่เก็บเกี่ยวในปี 2560 และ 2561 องค์ประกอบทางเคมีที่ทำการวิเคราะห์ ได้แก่ ปริมาณความชื้น เถ้า โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต ไทรโกเนลลีน สารประกอบฟืนอลิก คาเฟอีน กรดคลอโรจีนิค เค้าโครงกรดอะมิโน กรดไขมัน และน้ำตาล ในเมล็ดกาแฟก่อนคั่ว พบว่ากาแฟ อมก๋อยออร์แกนิค และกาแฟดอยช้างมีปริมาณ โดยรวมของน้ำตาลฟรุกโตส น้ำตาลกลูโคส น้ำตาล ซูโครส กรดอะมิโน ไทรโกเนลลิ่น กรดคลอโรจีนิค และคาเฟอีน สูงสุด จากการศึกษาผลของการคั่ว ที่มีต่อสมบัติทางเคมีกายภาพ และทางประสาทสัมผัสของกาแฟ โดยใช้เครื่องคั่ว 2 แบบ คือ เครื่องคั่ว แบบถังหมุน และเครื่องคั่วแบบอินฟราเรด วางแผนการทดลองแบบแฟคทอเรียล 2 ปัจจัย 2 ระดับ และ 2 จุดกึ่งกลาง โดยปัจจัยที่ศึกษา คือ อุณหภูมิ และเวลาในการคั่ว ทำการวิเคราะห์ปริมาณ ความชื้นน้ำหนักที่สูญเสีย ความหนาแน่นรวม ค่าสี ปริมาณฟืนอลิกรวม ไทรโกเนลลีน คาเฟอีน เค้าโกรงกลิ่นรส และคุณภาพทางประสาทสัมผัสของกาแฟอมก๋อยออร์แกนิค และกาแฟดอยช้าง ที่คั่วด้วยสภาวะต่างๆพบว่า ปริมาณความชื้น และความหนาแน่นรวมของกาแฟที่คั่วด้วยเครื่องคั่ว แบบอินฟราเรด มีปริมาณต่ำกว่าเมล็ดกาแฟที่คั่วด้วยเครื่องคั่วแบบถังหมุน อุณหภูมิและเวลาในการ ถั่วที่สูงขึ้นทำให้สีของเมล็ดกาแฟที่ได้จากเครื่องคั่วทั้งสองชนิดมีความเข้มมากขึ้น โดยกาแฟที่คั่วจาก เครื่องคั่วแบบอินฟราเรต จะมีสีน้ำตาลเข้มสม่ำเสมอทั้งเมล็ด และมีสีที่เข้มกว่าเมล็ดกาแฟที่คั่วด้วย เครื่องคั่วแบบถังหมุน นอกจากนี้การเพิ่มอุณหภูมิ และเวลาในการคั่วทำให้ปริมาณฟืนอลิกรวม ไทรโกเนลลีน และคาเฟอีนมีแนวโน้มลดลง ในส่วนของการวิเราะห์ลักษณะเค้าโครงของสารระเหย อินทรีย์ของกาแฟที่ได้จากเครื่องคั่วทั้งสองชนิด พบว่าลักษณะเค้าโครงของสารระเหยอินทรีย์ของ กาแฟที่ได้ในแต่ละสภาวะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยสารระเหยอินทรีย์ที่ตรวจพบทั้งหมด ซึ่งมี จำนวน 64 ชนิด แบ่งเป็น ไพริดีน 4 ชนิด ไพราชีน 1 1 ชนิด คีโตน 12 ชนิด ไพร์โรล 4 ชนิด ฟีนอล 5 ชนิต อัลดีไฮด์ 3 ชนิด ฟูแรน 22 ชนิด และกรดอินทรี่ย์ 3 ชนิด โดยพบ 2-furan methanol ปริมาณ สูงสุดในทุกตัวอย่าง นอกจากนี้ยังพบ 5-mchyl-2-fiurancarboxaldehyde, 2-furanmethanol acctate, furfural และ 1-(acelyloxy)-2-propanone เป็นสารหลัก กาแฟที่ได้จากการคั่วโดยใช้เครื่องคั่วแบบ ถังหมุน มีปริมาณสารระเหยอินทรีย์สูงกว่ากาแฟที่ได้จากการคั่วโดยใช้เครื่องคั่วแบบอินฟราเรด เมื่อ ประเมินคุณภาพทางประสาทสัมผัสของกาแฟอมก๋อยออร์แกนิก และกาแฟดอยช้างหลังคั่วโดยกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ (Q-grader) ของบริษัทฮิลล์คอฟฟ์ พบว่า กาแฟอมก๋อยออร์แกนิค และกาแฟดอยช้าง ที่คั่ว ด้วยเครื่องคั่วแบบถังหมุน และเครื่องคั่วแบบอินฟราเรคของทุกสภาวะการคั่ว จัดเป็นกาแฟที่มี คุณภาพดีถึงดีมาก โดยได้รับการประเมินใกล้เคียง 80 คะแนน ซึ่งหมายถึงกาแฟที่มีคุณลักษณะ ใกล้เคียงคุณภาพพิเศษ อย่างไรก็ตามกาแฟอมก๋อยออร์แกนิคที่คั่วด้วยเครื่องคั่วแบบอินฟราเรดที่ อุณหภูมิ 155 องศาเซลเชียส เวลา 7 นาที และที่อุณหภูมิ 170 องศาเซลเชียส เวลา 6 นาที 30 วินาที เป็นกาแฟที่จัดอยู่ในเกณฑ์คุณภาพยอดเยี่ยม และเป็นกลุ่มกาแฟที่มีกลิ่นรสพิเศษ ทั้งนี้ผู้ทดสอบได้ สัมผัสถึงกลิ่นรสต่างๆ ที่เป็นเอกลักษณ์ของกาแฟคั่วที่สภาวะนี้ ได้แก่ คาราเมล วานิลลา น้ำผึ้ง ซิตรัส ดอกไม้ นม และบัดเตอร์en_US
Appears in Collections:AGRO: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591331017 สุพัตรา แลดี.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.