Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74003
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Songsak Sriboonchitta | - |
dc.contributor.advisor | Woraphon Yamaka | - |
dc.contributor.advisor | Paravee Maneejuk | - |
dc.contributor.author | JINCHEN HAN | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-24T10:38:25Z | - |
dc.date.available | 2022-08-24T10:38:25Z | - |
dc.date.issued | 2022-08 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/74003 | - |
dc.description.abstract | Investment facilitation and foreign investment are of great significance to regional economic development. This study takes the investment facilitation of ten ASEAN countries as the research object, selects eight relevant indicators on investment facilitation from the 2014-2019 World Bank Doing Business report, and quantitatively assesses the investment facilitation of ten ASEAN countries based on the hierarchical analysis method. Based on this, a spatial panel data econometric model of the impact of investment facilitation on FDI in ten ASEAN countries is constructed After constructing the investment facilitation model, namely hierarchical analysis, the investment facilitation scores of ASEAN countries are obtained. Then, the relationship between FDI and investment facilitation scores are investigated using the spatial panel regression analysis. The dependent variable is the FDI of ASEAN countries from 2014 to 2019 and the independent variable is the investment facilitation score of ASEAN countries derived from the model. The explanatory variables include the three indicators of GDP, capital utilization rate, and manpower utilization rate of each ASEAN country per year, and the final regression equation is obtained, which in turn verifies the fit of this study and thus provides supporting evidence for the validity of this research. The results reveal that the level of investment facilitation in the ten ASEAN countries shows an increasing trend from 2014-2019. This indicates that the marketmechanism in the ASEAN region is improving with economic development, and the countries continue to improve the level of investment facilitation in order to attract the support of international capital and make it easier for international capital to invest and build in the country. The higher the economic development of the region, the higher the level of investment facilitation. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.subject | Ten ASEAN countries | en_US |
dc.subject | Investment facilitation | en_US |
dc.subject | Foreign investment | en_US |
dc.subject | Hierarchical analysis | en_US |
dc.subject | Spatial panel regression | en_US |
dc.title | Investment facilitation and its spatial impact on foreign direct investment in ASEAN | en_US |
dc.title.alternative | การอำนวยความสะดวกทางการลงทุนและผลกระทบเชิงพื้นที่ต่อการลงทุนทางตรงในประเทศอาเซียน | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | ASEAN -- Economic conditions | - |
thailis.controlvocab.thash | Investments | - |
thailis.controlvocab.thash | Analytical hierarchy process | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | ความสะดวกในการลงทุนและการลงทุนจากต่างประเทศมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคอาเซียน วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการอำนวยความสะดวกในการลงทุนต่อการลงทุนในภูมิภาคอาเซียน ในการศึกษานี้ได้ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้นและใช้ดัชนีทางการการอำนวยความสะดวกต่างๆ ตั้งแต่ปี 2557 ถึง 2562 เพื่อประมาณคะแนนความสะดวกในการลงทุนในภาพรวมของอาเซียน และใช้แบบจำลองถดถอยเชิงพื้นที่เพื่อศึกษาอิทธิพลของดัชนีการอำนวยความสะดวกต่อการลงทุนจากต่างประเทศในประเทศอาเซียน ภายหลังจากที่สร้างแบบจำลองการอำนวยความสะดวกโดยใช้การวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น จะทำให้ทราบคะแนนการอำนวยความสะดวกในการลงทุนของกลุ่มประเทศอาเซียน จากนั้นจะทำการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนการอำนวยความสะดวกในการลงทุนกับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศโดยมีตัวแปรตามคือการลงทุนจากต่างประเทศ และตัวแปรควบคุมเพิ่มอีก 3 ตัวแปร ได้แก่ ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ทุน และแรงงาน ซึ่งการศึกษานี้จะนำไปสู่การนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายต่อไป จากผลการศึกษาพบว่าความสะดวกในการลงทุนของประเทศอาเซียนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นตลอดช่วงระหว่างปี 2557 ถึง 2562 ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากลไกตลาดในภูมิภาคอาเซียนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องไปพร้อมๆ กับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และประเทศต่างๆ ยังได้เพิ่มระดับของความสะดวกในการลงทุนเพื่อดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ และอำนวยความสะดวกให้กับเงินทุนที่จะไหลเข้ามายังประเทศเหล่านี้ ซึ่งสรุปได้ว่ายิ่งระดับการพัฒนาของประเทศเพิ่มสูงขึ้นระดับของการอำนวยความสะดวกในการลงทุนก็จะเพิ่มสูงขึ้นตาม นอกจากนี้ หลังจากการควบคุมผลของปัจจัยภายนอกและผลด้านเวลาในระดับประเทศแล้ว จากนั้นเพิ่มตัวแปรควบคุม ได้แก่ ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ กำลังแรงงาน และทุน ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการอำนวยความสะดวกในการลงทุนส่งผลในทางบวกต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ ผลการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่ายิ่งระดับความสะดวกสบายในการลงทุนเพิ่มสูงขึ้นยิ่งช่วยดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศได้ อีกทั้งยังช่วยพิสูจน์ให้เห็นถึงความถูกต้องของดัชนีที่เลือกใช้ตลอดจนโครงสร้างในภาพรวมของการอำนวยความสะดวกด้านการลงทุนที่ผ่านมาในอดีต | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jinchen Han 8.19.pdf | 4.09 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.