Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73994
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสร้อยสุดา วิทยากร-
dc.contributor.authorชไมพร ธิอ้ายen_US
dc.date.accessioned2022-08-23T10:44:54Z-
dc.date.available2022-08-23T10:44:54Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73994-
dc.description.abstractThis developmental research aimed to develop impairment screened tool on sensory Integration disorder in preschool children for Teachers, and to examine content validity reliability and objectivity in Preschoolers’ Sensory Integration Disorder Screening Tool for teachers. There were 3 phases of this research. as follows; first phases was planning, the second phases was to set the structure of screening. The third phase was to examine on the sample group to find the reliability in impairment screening test sensory integration in preschool children for teachers, using internal consistency. The sample group of this research was 42 teachers at Special Education Center, the supporting network on efficiency of special education management, the 8th network. The result was found that the Preschoolers’ Sensory Integration Disorder Screening Tool for Teachers, had content validity from 0.67-1.00 in 43 questions. The questions were divided into 3 aspects: sensory modulation disorder, sensory discrimination disorder, and dyspraxia. When examined on the sample group which 73.8 percent of the members were female teachers, 50 percent were in the age between 20-30, bachelor degree 71.4 percent and most of them have more than 5 years of experience in the field, at 47.6 percent. To find the reliability, it was found that the total test has 0.73 of reliability, which is acceptable. To find the objectivity, the value for Rater Agreement Index from five raters was 1.00. The result show that the screening tool has quality in objectivity. Moreover, the sample group had given the opinions about behavior list in the screening tool which are as follow; the language used in the test should be clear and easy to understand and does not create confusion, including the observation of children’s behaviors that express through daily activities which the education centers or schools are familiar with due to many activities within schools.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแบบคัดกรองความบกพร่องในการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กก่อนวัยเรียนสำหรับครูen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a preschoolers' sensory integration disorder screening tool for teachersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashความบกพร่องทางการเรียนรู้-
thailis.controlvocab.thashเด็กวัยก่อนเข้าเรียน-
thailis.controlvocab.thashเด็กพิเศษ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบคัดกรองความบกพร่องในการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กก่อนวัยเรียนสำหรับครู การทดสอบความเที่ยงตรง ความเชื่อมั่นและความเป็นปรนัยของแบบคัดกรองความบกพร่องในการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กก่อนวัยเรียนสำหรับครู ซึ่งการวิจัยนี้มีกระบวนการพัฒนา 3 ระยะ คือ ระยะที่หนึ่ง การวางแผน ระยะที่สอง กำหนดโครงสร้าง และระยะที่สาม การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ มีการทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง เพื่อหาค่าความเชื่อมั่นของแบบคัดกรองความบกพร่องในการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กก่อนวัยเรียนสำหรับครู โดยวิธีหาค่าความสอดคล้องภายใน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง คือ เป็นครูผู้สอนศูนย์การศึกษาพิเศษ กลุ่มเครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษาศูนย์การศึกษาพิเศษ เครือข่ายที่ 8 จำนวน 42 คน ผลการวิจัยได้แบบคัดกรองความบกพร่องในการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กก่อนวัยเรียนสำหรับครู ที่มีค่าความตรงด้านเนื้อหา (0.67 1.00) จำนวน 43 ข้อ จำแนกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านความบกพร่องในการปรับระดับข้อมูลการรับความรู้สึก ด้านความบกพร่องในการแยกแยะข้อมูลความรู้สึก และด้านความบกพร่องในการวางแผนกระทำการเคลื่อนไหว เมื่อนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูผู้สอน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 73.8 อายุระหว่าง 20 30 ปี ร้อยละ 50 การศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 71.4 และมีประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน 5 ปีขึ้นไป ร้อยละ 47.6 พบว่า แบบคัดกรองมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.73 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์สูงที่ยอมรับได้ ในการหาค่าความเป็นปรนัยพบว่า มีค่าความสอดคล้องระหว่างผู้ประเมิน5 คน เท่ากับ 1.00 แสดงว่าแบบคัดกรองมีคุณภาพในด้านความเป็นปรนัย นอกจากนี้กลุ่มตัวอย่างได้ให้ข้อคิดเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายการพฤติกรรมในแบบคัดกรอง กล่าวคือ ภาษาที่ใช้สื่อความหมายได้ชัดเจน เข้าใจง่ายสังเกตพฤติกรรมได้เชิงรูปธรรมและไม่ทำให้เกิดความสับสน รวมทั้งใช้วิธีการสังเกตพฤติกรรมของเด็กในขณะที่เด็กปฏิบัติกิจกรรมการดำเนินชีวิตในศูนย์การศึกษาพิเศษen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232075 ชไมพร ธิอ้าย.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.