Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73968
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชชุกาญจน์ ทองถาวร-
dc.contributor.authorทัศนีย์ มะหิตธิen_US
dc.date.accessioned2022-08-20T07:28:45Z-
dc.date.available2022-08-20T07:28:45Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73968-
dc.description.abstractThis independent study aimed to study nutrition care behaviors of early childhood parents at Ban Huayyasai School, Chiang Rai Province. The target group used in this study were parents from 20 families, who were guardians of 20 kindergarten 3 students, who were studying at Ban Huayyasai School, Pa Daed Sub district, Mae Suai District, Chiang Rai Province during the academic year of 2019. The instrument used in this study were structured-interview and unstructured-interview. Data was analyzed by content summary and content analysis. The results were as followed: Nutrition care behaviors of early childhood parents were described that: 1. Nutrition care behaviors of early childhood parents found the behaviors that relevant to nutrition principles were most parents were good role models in term of good intaking, having the children eat food that relevant to nutrition sense, having the children eat different kind of foods rather than everyday food, and arrange atmosphere that suitable for eating. On the other hand, the behaviors that irrelevant to nutrition principles were most parents did not give opportunities to children to help preparing food, did not preparing places for cooking and all cleaned, safe cooking and eating tools. 2. Behaviors of early childhood parent in preparing for the children found the behaviors that relevant to nutrition principles most parents prepared five nutrition groups for the children, prepared all three meals for the children, prepared variety of foods for children to select food by themselves, prepared food that suitable for children taste. The behaviors that irrelevant to nutrition principles were most parents often prepared junk food, soda, and sweet juice as snack for childrenen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมการดูแลด้านโภชนาการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านห้วยหญ้าไซ จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeNutrition care behaviors of early childhood parents at Ban Huayyasai school, Chiang Rai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเด็ก -- โภชนาการ-
thailis.controlvocab.thashเด็ก -- อาหาร-
thailis.controlvocab.thashเด็ก -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashการกำหนดอาหาร-
thailis.controlvocab.thashโภชนาการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลด้านโภชนาการ ของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านห้วยหญ้าไซ จังหวัดเชียงราย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ปกครองจำนวน 20 ครอบครัว ซึ่งเป็นผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยระดับชั้นอนุบาล 3/1 จำนวน 20 คน ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านห้วยหญ้าไซ ตำบลป่าแดด อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างและแบบสัมภาษณ์แบบไม่มีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูล สรุปและอภิปรายผลในรูปแบบการวิเคราะห์เนื้อหา โดยศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลด้านโภชนาการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการดูด้านโภชนาการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เป็นดังนี้ 1.พฤติกรรมการดูแลโภชนาการของผู้ปกครองเด็กปฐมวัย พบว่า พฤติกรรมการที่สอดคล้องกับหลักโภชนาการ คือ ผู้ปกครองส่วนใหญ่เป็นแบบอย่างที่ดีด้านการบริโภคอาหาร ได้ฝึกให้เด็กรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะตามหลักโภชนาการ ได้ฝึกให้เด็กรับประทานอาหารที่แปลกใหม่ ที่ไม่เคยรับประทานมาก่อน และการจัดบรรยากาศในการรับประทานอาหารที่เหมาะสมด้านพฤติกรรมการที่ไม่สอดคล้องกับหลักโภชนาการ คือ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ยังไม่ให้เด็กได้มีโอกาสในการมีส่วนร่วมจัดเตรียมและปรุงอาหาร อีกทั้งยังต้องดูแลสถานที่เตรียมและปรุงอาหารและอุปกรณ์ เครื่องใช้ในการรับประทาน ภาชนะที่ใส่อาหารให้สะอาด ปลอดภัย 2. พฤติกรรมในการจัดเตรียมอาหารให้เด็กปฐมวัย พบว่า พฤติกรรมการที่สอดคล้องกับหลักโภชนาการ คือ ผู้ปกครองส่วนใหญ่จัดอาหารให้เด็กได้รับประทานครบ 5 หมู่ เตรียมอาหารครบ 3 มื้อ จัดอาหารที่หลากหลายให้เด็กได้เลือกรับประทานด้วยตนเอง และได้จัดเตรียมอาหารที่มีรสชาติเหมาะกับเด็ก ด้านพฤติกรรมการที่ไม่สอดคล้องกับหลักโภชนาการ คือ ผู้ปกครองส่วนใหญ่ส่วนจัดเตรียมอาหารประเภท ขนมกรุบกรอบ น้ำอัดลม น้ำหวาน เป็นอาหารว่างให้เด็กรับประทานen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6002320241 ทัศนีย์ ลงลายน้ำ 10สค.65.pdf9.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.