Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73958
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปีดิเทพ อยู่ยืนยง-
dc.contributor.authorภควดี รัติเชษฐen_US
dc.contributor.otherประสิทธิ์ ลีปรีชา-
dc.date.accessioned2022-08-20T05:54:17Z-
dc.date.available2022-08-20T05:54:17Z-
dc.date.issued2022-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73958-
dc.description.abstractIn present the world is facing the coronavirus 2019 outbreak. Coronavirus pandemic's is has been impacting in Thailand; people got severity of this outbreak. Public health system is processing under the operation of the government. Government comes to protect the impact on public health with a plan to reduce the severity of the epidemic by using Coronavirus 2019 Vaccines. The study of “Political Economy of Health Inequality: A Case Study of Government’s Alternative Vaccines Policy and People Accessibility” has two objectives; (1) to analyze the opportunity of barrier to access Alternative Vaccines are impacted from Government Policy under Public health emergency (2) to analyze the Government manages; vaccines are access and allocation on Political Economy criticizes view; The concept of Inequality view and Principle of equality, including relevant Thai laws. By using survey research bring analyze method together with secondary data. The results showed Alternatives Vaccines barrier accessibility that 1) Difference between Personal Factors of the income per month and cost burden in housing have an affect on choosing alternative vaccines. 2) Giving some knowledge about vaccines from Government. 3) the Confidence of National Health Security insurance affects to opportunity to access health services, including to amelioration and buying COVID-19 insurance. Moreover, A barrier from Laws cause trading and import high efficacy vaccines by state to state, that were barriers for people’s accessibility opportunity, because of delayed decision about import Alternative Vaccines affect a local government face to obtain to Alternative Vaccines access delayed. From the above factor the government should makes clearly decided by policy measure aim to increasing equal opportunities about choosing vaccines and accesses health services arm for Non-Government Organization coordinate, including to modify laws; to got specific section or directly laws when the country face to pandemic to quickly manage health urgency.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพ: กรณีศึกษานโยบายการนำเข้าวัคซีนทางเลือกของรัฐบาล และโอกาสในการเข้าถึงของประชาชนen_US
dc.title.alternativePolitical economy of health inequality: A Case study of government’s alternative vaccines policy and people accessibilityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashเครื่องชี้ภาวะสุขภาพ-
thailis.controlvocab.thashวัคซีนไวรัส-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- วัคซีน-
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค) -- การป้องกันและควบคุม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโลกปัจจุบันกำลังเผชิญหน้าจากการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประเทศไทยและประชาชนได้รับผลกระทบจากความรุนแรงของการระบาดในครั้งนี้ ระบบสาธารณสุขภายใต้การดำเนินงานของรัฐบาลเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อให้ความคุ้มครองผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพของประชาชนด้วยแผนการลดระดับความรุนแรงของโรคระบาดด้วยวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 การวิจัยเรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองว่าด้วยความเหลื่อมล้ำทางสุขภาพ: กรณีศึกษานโยบายการนำเข้าวัคซีนทางเลือกของรัฐบาลและโอกาสในการเข้าถึงของประชาชน มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาอุปสรรคทางด้านโอกาสในการเข้าถึงวัคซีนทางเลือกจากนโยบายการนำเข้าวัคซีนภายใต้สภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพ และ (2) ศึกษาการจัดการการกระจายวัคซีนของรัฐบาลเชิงวิพากษ์ในมุมมองของเศรษฐศาสตร์การเมือง บนกรอบแนวคิดว่าด้วยความเหลื่อมล้ำ และแนวคิดว่าด้วยหลักความเสมอภาครวมถึงข้อกฎหมายไทยที่เกี่ยวข้อง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจวิเคราะห์ร่วมกับเอกสารทุติยภูมิ ด้วยมุมมองทางเศรษฐศาสตร์การเมือง ผลการศึกษาพบว่า อุปสรรคในการเข้าถึงวัคซีนทางเลือก คือ 1) ความแตกต่างระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลโดยเฉพาะด้านรายได้และภาระค่าใช้จ่ายในครอบครัวมีผลต่อการตัดสินใจเลือกวัคซีน 2) ความรู้ความเข้าใจเรื่องวัคซีนจากการให้ความรู้ของภาครัฐ 3) ความเชื่อมั่นต่อหลักประกันสุขภาพมีผลต่อโอกาสในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ ทั้งการเยียวยา และการเลือกซื้อประกันโควิด-19 นอกจากนี้ข้อจำกัดทางกฎหมาย ทำให้การซื้อขายนำเข้าวัคซีนที่มีประสิทธิภาพสูงแบบรัฐต่อรัฐเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึงวัคซีนทางเลือกของประชาชน เพราะความล่าช้าในการตัดสินใจนำเข้าวัคซีนทางเลือกของรัฐ ส่งผลให้การจัดการระดับท้องถิ่นเข้าถึงวัคซีนได้ล่าช้า จากปัจจัยข้างต้นรัฐบาลควรเพิ่มการตัดสินใจที่ชัดเจนใช้นโยบายเป็นเครื่องมือเพิ่มโอกาสในการเลือกวัคซีน และการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพเพื่อจัดเตรียมแผนการประสานงานขอร่วมมือต่อภาคเอกชนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแก้ไขข้อกฎหมายจัดการความเร่งด่วนทางสุขภาพต่อโรคระบาดโดยตรงอาจทำให้รัฐบาลดำเนินการได้อย่างรวดเร็วen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630432005 (ลายน้ำ).pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.