Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73954
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSate Sampattagul-
dc.contributor.authorKunlatida Yachaien_US
dc.date.accessioned2022-08-20T05:32:58Z-
dc.date.available2022-08-20T05:32:58Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73954-
dc.description.abstractOver the past decade, human activity has affected toward the environment. The economic and industrial expansion is the main factor that leads to the consequent effect of the decline of the urban environment in many cities. They are all facing challenges of unsustainable development. As huge energy consumers and pollutant emitters, cities should play a key role in controlling global GHG emissions. This research aims to evaluate the environmental impact of the papaya logistics to Yasothon Municipality, Thailand. There is high consumption of papaya in Yasothon municipality, but a lack of papaya plantations in the area leads to a vast amount of import of papaya. The study developed a green logistics model. It uses a screening life cycle assessment to evaluate the GHG emissions of transportation activities in the papaya logistics hybrids with a geographic information system (GIS) using network analysis and closet facilities to define the best route between each node. The screening life cycle assessment show that an account of cross-country transportation, results to 217.92 kg CO2 eq/kg of GHG emissions generated with 2,229,780.488 km of total distance while the transportation between market and market generated the most GHG emissions in papaya logistics as 153.811 kg CO2 eq/ per year due to its long transportation distance and a large number of transport trip.The improved supply chain will be suggested with different potential cases to create an eco-friendlier of logistics based on transportation activities related to the climate adaptation policies, including a change in process or practices. Using the year-frame environment impact assessment from the baseline logistics. The improved supply chain suggestion separates into 3 types: Changing distribution, In-province supply, and Urban Transportation improvement. Considering the context of the area and the request from the municipality that prefer to cultivate in the area, the in-province supply approach is selected as it covers most of the research objectives. The potential in-province plantation was analyzed with the suitability model by ArcGIS software, it resulted shown that the suitable areas for planting are the area near the water source and transportation access which spread in the southeastern of the province, which is a low plain area, alternating with the waterfront ridge and northeast of the province. 20% of demand in-province production was suggested while receiving products from nearby plantation such as Mukdahan, Warin Chamramp Market and Narkorn Ratchasima to meet the Yasothon’s municipality demand in order to minimize the resistance of changing crops. Moreover, the collective delivery between market and restaurant also suggests reducing the GHG emission in urban area along with implementing the waste processed policy to reduce the waste which able to reduce the number of days of collect garbage. Therefore, it can accumulate GHG emissions around 106.415 CO2 eq of GHG emissions per year with of THB 11,789,420.11 total transportation cost.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectGreen Logisticsen_US
dc.subjectScreening Life Cycle Assessmenten_US
dc.subjectGISen_US
dc.subjectSupply Chainen_US
dc.subjectPapayaen_US
dc.subjectมะละกอen_US
dc.subjectระบบภูมิสารสนเทศen_US
dc.subjectโลจิสติกส์en_US
dc.subjectการประเมินวัฏจักรชีวิตen_US
dc.titleEvaluation of papaya green logistics in Yasothon municipality using screening life cycle assessment hybrid with geographic information systemen_US
dc.title.alternativeการประเมินโลจิสติกส์สีเขียวของมะละกอในเทศบาลยโสธรโดยใช้การประเมินวัฏจักรชีวิตแบบคัดกรองผสมผสานกับระบบภูมิสารสนเทศen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashBusiness logistics-
thailis.controlvocab.thashGeomatics-
thailis.controlvocab.thashPapaya-
thailis.controlvocab.thashLife cycles (Biology)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา กิจกรรมของมนุษย์ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การขยายตัวทาง เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมเป็นปัจจัยหลักที่นาไปสู่ผลกระทบที่ตามมาของการลดลงของ สภาพแวดล้อมในเมืองในหลายเมืองกาลังเผชิญกับความท้าทายของการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน ในฐานะ ผู้ใช้พลังงานรายใหญ่และผู้ปล่อยมลพิษ เมืองต่างๆ ควรมีบทบาทสาคัญในการควบคุมการปล่อย GHG ทั่วโลก งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของการขนส่งมะละกอ ต่อเทศบาลนครยโสธร ประเทศไทย ที่มีการบริโภคมะละกอสูงในเขตเทศบาลเมืองยโสธร แต่ไม่พบ การปลูกในพื้นที่เลย ส่งผลให้มีการนาเข้ามะละกอเป็ นจานวนมาก การศึกษาได้พัฒนาโมเดล โลจิสติกส์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยใช้การประเมินวัฏจักรชีวิตแบบคัดกรองเพื่อประเมินการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของกิจกรรมการขนส่งในโลจิสติกส์ของมะละกอผสมผสานด้วยระบบข้อมูล ทางภูมิศาสตร์ (GIS) โดยการวิเคราะห์โครงข่าย เพื่อนกา หนดเส้นทางการขนส่งที่ดีที่สุดในแต่ละจุด การประเมินวัฏจักรชีวิตแบบคัดกรองแสดงให้เห็นว่าการขนส่งมะละกอที่บริโภคในเทศบาล ยโสธรนั้นเกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 217.92 kg CO2 eq/kg ตลอดช่วงการขนส่งตั้งแต่แหล่ง เพาะปลูกไปจนถึงการทิ้งทาลาย โดยพบการปล่อยก๊าซมากที่สุดในช่วงการขนส่งระหว่างแหล่ง กระจายสินค้า หรือตลาดสู่ตลาด เนื่องจากมีระยะทางการขนส่งไกล และมีจานวนการขนส่งเป็น จา นวนมาก โดยมีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอยทูี่ 153.81 kg CO2 eq/kg หลังจากนั้นผู้วิจัยได้นา การแนะนา โมเดลโลจิสติกส์ที่มีการปรับปรุงให้มีค่าการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกที่น้อยลงกว่าโลจิสติกส์ฐาน โดยแบ่งออกเป็น 3 แบบได้แก่ การเปลี่ยนจุดกระจายสินค้า จากแหล่งผลิตเดิม, การส่งเสริมการบริโภคในท้องถิ่น และการปรับปรุงการขนส่งในเมือง เมื่อพิจารณาจากบริบทของพื้นที่และความต้องการของเทศบาลที่ต้องการให้เพิ่มการผลิต ภายในจังหวัด การส่งเสริมการบริโภคจึงเป็นวิธีที่ครอบคลุมสาหรับวัตถุประสงค์งานวิจัยมากที่สุด โดยได้ทา การคัดเลือกพื้นที่เหมาะสมสาหรับการปลูกมะละกอด้วยเครื่องมือ ArcGIS พบว่าพื้นที่ เหมาะสมกับการปลูกนั้นจะเป็นพื้นที่ใกล้แหล่งน้า โดยกระจายตัวตัวแนวตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งเป็น พื้นที่ราบลุ่มต่า สลับกับสันดินริมน้า และตะวันออกเฉียงเหนือของพื้นที่ เป็นพื้นที่ลูกคลื่น โดยแนะนา เริ่มผลิตในสัดส่วนร้อยละ 20 ของจานวนมะละกอที่ใช้บริโภคภายในเทศบาลยโสธร โดยให้มีการรับ มะละกอจากจังหวัดมุกดาหาร ตลาดวารินชา ราบ และนครราชสีมา เพื่อให้ครอบคลุมกับอุปสงค์ของ มะละกอ และเป็นการลดแรงต้านจากการเปลี่ยนแปลงการปลูกพืช และแนะนาให้มีการปรับปรุงการ ขนส่งที่เกิดในเมือง อันประกอบด้วย การขนส่งระหว่างตลาดเทศบาลยโสธรและร้านค้า และการ ขนส่งของเส้นทางการเก็บขยะ โดยแนะนา ให้ใช้วิธีรวบรวมการขนส่งวัตถุดิบจากตลาดแล้วจัดส่งไป ยังร้านค้า และแนะนา ให้มีการกา จัดขยะ ณ ต้นทางเพื่อลดจา นวนขยะ ซึ่งจะสามารถทา ให้ลดความถี่ ในการเก็บขยะลงได้ โดยสามารถลดการปล่อยก๊าซหรือกระจกลงได้ เหลือเพียง 106.415 kg CO2 eq/kg ต่อปี โดยมีค่าใช้จ่ายการขนส่งอยู่ที่ 11,789,420 บาทen_US
Appears in Collections:ENG: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.