Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73940
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuttichai Premrudeepreechacharn-
dc.contributor.authorPhavixa Vongvilasascken_US
dc.date.accessioned2022-08-20T01:06:06Z-
dc.date.available2022-08-20T01:06:06Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73940-
dc.description.abstractThis research presents the optimal capacitor placement in a medium-voltage (MV) distribution system with a distributed generator (DG) connected using a particle swarm optimization (PSO) algorithm. The purpose is to minimize power line losses and the cost of installing shunt capacitors. The DIgSILENT PowerFactory software is used to create the network model and perform a power flow analysis. MATLAB would be applied to find the optimal result from the proposed PSO algorithm. The proposed algorithm validated its effectiveness against the other algorithms reported in the literature under the IEEE 33-bus test system. The real power distribution system of Electricité du Lao (EDL) in Savannakhet province is also investigated, which is considered without and with distributed generator connected to the distribution grid. The results would be demonstrated the optimal number, size, and location of capacitor banks, which can reduce line losses by more than 30%, and the voltage profile also regulates within allowable limits. Furthermore, considering the distributed generator connected that the proposed algorithm suggests the installation of at least 4 units, the power loss can be significantly reduced by about 60% compared to the base case. The investment analysis shows that the case without a distributed generator is more interesting as it offers greater worthiness. Since the potential to reduce energy loss in this system is evident, the EDL Savannakhet province is required the installation of the capacitor banks to enhance the efficiency and maintain the stability of the system. As well, the developed tool can accomplish to implement in the practical distribution system for conducting the capacitor placement following the planner.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectCapacitor placementen_US
dc.subjectpower distribution systemen_US
dc.subjectdistributed generator (DG)en_US
dc.subjectactive power loss reductionen_US
dc.subjectparticle swarm optimization (PSO)en_US
dc.titleCapacitor placement for losses reduction in power distribution system of Savannakhet Province using particle swarm optimizationen_US
dc.title.alternativeการวางตำแหน่งตัวเก็บประจุเพื่อลดการสูญเสียในระบบจำหน่ายไฟฟ้าในจังหวัดสะหวันนะเขต โดยใช้วิธีการทำให้เหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาคen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshElectric power distribution -- Laos-
thailis.controlvocab.lcshElectric power transmission -- Laos-
thailis.controlvocab.lcshElectric power systems -- Laos-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้นำเสนอการวางตำแหน่งตัวเก็บประจุที่เหมาะสมที่สุดในระบบจำหน่ายไฟฟ้าระดับแรงดันปานกลางโดยมีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกระจายตัวเชื่อมต่ออยู่โดยใช้ขั้นตอนทำให้เหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาค โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการสูญเสียตามสายไฟฟ้า และค่าใช้จ่ายในการติดตั้งชุดตัวเก็บประจุ ซอฟต์แวร์ DIgSILENT PowerFactory นำมาใช้เพื่อสร้างโมเดลเครือข่าย และทำการวิเคราะห์กระแสไฟ MATLAB จะถูกนำไปใช้เพื่อค้นหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุดจากขั้นตอนทำให้เหมาะสมที่สุดแบบกลุ่มอนุภาคที่เสนอ อัลกอริทึมที่เสนอได้รับการตรวจสอบประสิทธิภาพเทียบกับอัลกอริทึมอื่นๆที่รายงานในเอกสารวรรณกรรมภายใต้ระบบทดสอบ IEEE 33-bus นอกจากนี้ยังมีการศึกษาระบบจำหน่ายไฟฟ้าที่แท้จริงของรัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาวสาขาจังหวัดสะหวันนะเขต ซึ่งพิจารณากรณีศึกษาที่ไม่มี และมีเครื่องกำเนิดแบบกระจายตัวเชื่อมต่ออยู่กับกริดจำหน่ายไฟฟ้า ผลลัพธ์จะแสดงให้เห็นจำนวน ขนาด และตำแหน่งที่เหมาะสมที่สุดของชุดตัวเก็บประจุ ซึ่งสามารถลดการสูญเสียตามสายไฟฟ้าได้มากกว่า 30% และสามารถควบคุมแรงดันไฟฟ้าให้อยู่ภายใต้ขีดจำกัดที่อนุญาตได้ นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาการงมีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกระจายตัวที่เชื่อมต่ออยู่นั้น อัลกอริทึมที่เสนอได้แนะนำให้ติดตั้งชุดตัวเก็บประจุอย่างน้อย 4 ชุด ซึ่งทำให้การสูญเสียพลังงานลดลงเฉลี่ยมากถึง 60% เมื่อเทียบกับกรณีพื้นฐาน การวิเคราะห์การลงทุนแสดงให้เห็นว่ากรณีที่ไม่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าแบบกระจายตัวเชื่อมต่ออยู่นั้นมีความน่าสนใจมากกว่าเนื่องจากมีการให้ความคุ้มค่ามากกว่า แน่นอน จากศักยภาพในการลดการสูญเสียพลังงานในระบบนี้แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า รัฐวิสาหกิจไฟฟ้าลาวสาขาจังหวัดสะหวันนะเขตจึงจำเป็นต้องติดตั้งชุดตัวเก็บประจุเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และรักษาเสถียรภาพของระบบจำหน่ายไฟฟ้า เครื่องมือที่พัฒนาขึ้นนี้ยังสามารถนำไปใช้ในระบบจำหน่ายที่ใช้งานได้จริงสำหรับการจัดวางตัวเก็บประจุตามผู้วางแผนen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Phavixa_Thesis_Format_check_watermark.pdf7.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.