Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73934
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุษรี เพ่งเล็งดี-
dc.contributor.authorวสันต์ วันกาลen_US
dc.date.accessioned2022-08-19T11:23:15Z-
dc.date.available2022-08-19T11:23:15Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73934-
dc.description.abstractThis research purposes to compare the understanding of the concept of Substances at the particle level of ethnic students before and after management, learning by using animation and still images. The population group consisted of 53 students in the fifth grade from a school in Chiang Mai Province. The research instrument was a particle-level conceptual measurement. This was a two-tier test with 12 items. The statistics used for data analysis were percentage, mean, and average. The research results are divided into 3 areas as follows: First, The students' understanding of concepts after learning with animation were classified in the group with complete concept (SU) and group with incomplete (PU) concept, increasing by 50.00% and 8.33%, respectively. The partially conscientious group (PS), the misconception group (MU), and the misconception group (NU) decreased 19.44%, 24.03% and 14.59%, respectively. Second, The students had an understanding of the concept of the study using still images, which were classified as having complete concept (SU) and group with incomplete thinking (PU), increasing by 41.38% and 6.90% respectively. The partial consensus (PS), misconception group (MU) and misconception group (NU) decreased by 16.09%, 20.11% and 12.05%, respectively. Finaly, the animation group students understood the conscience in the conscientious group (SU) and the incomplete consensus (PU) group, as well as the 6.61% and 1.43% of the students; nonetheless, they had less understanding of conscience in the partially correct (PS) group, the wrong content (MU) group, and the misconception group (NU) less than the hundredth class students. 1.47%, 2.85% and 2.73% respectively. The results of the research show that learning management using animation can develop an understanding of Substances at the particle level better than using still images on ethnic students.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectConceptual understandingen_US
dc.subjectDynamic and static visual instructionen_US
dc.subjectSubstancesen_US
dc.subjectMicroscopic Levelen_US
dc.subjectEthnic Studentsen_US
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่ง ที่มีต่อความเข้าใจมโนทัศน์เรื่อง สารในระดับอนุภาค ของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์en_US
dc.title.alternativeEffects of using dynamic and static visual instruction on ethnic students’ conceptual understanding of substances at the microscopic levelen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการรับรู้ภาพ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน-
thailis.controlvocab.thashความคิดรวบยอด-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มชาติพันธุ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความเข้าใจมโนทัศน์เรื่อง สารในระดับอนุภาค ของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์ ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยการใช้ภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่ง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 53 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัดมโนทัศน์เรื่องสารในระดับอนุภาค ซึ่งเป็นแบบทดสอบชนิด 2 ลำดับ (two-tier) จำนวน 12 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยแบ่งเป็น 3 ประเด็น ดังนี้ 1. จำนวนนักเรียนที่มีความเข้าใจมโนทัศน์หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยภาพเคลื่อนไหวจัดอยู่ในกลุ่มที่มีมโนทัศน์สมบูรณ์(SU)และกลุ่มที่มีมโนทัศน์ไม่สมบูรณ์ (PU) เพิ่มขึ้นจากก่อนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 50.00 และ ร้อยละ 8.33 ตามลำดับ โดยจำนวนนักเรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์เรื่อง สารในระดับอนุภาคในกลุ่มที่มีมโนทัศน์ถูกบางส่วน (PS) กลุ่มที่มีมโนทัศน์คลาดเคลื่อน (MU) และกลุ่มที่มีมโนทัศน์ผิด (NU) ลดลงจากก่อนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 19.44 ร้อยละ 24.03 และร้อยละ 14.59 ตามลำดับ 2. จำนวนนักเรียนที่มีความเข้าใจมโนทัศน์หลังการจัดการเรียนรู้ด้วยภาพนิ่งจัดอยู่ในกลุ่มที่มีมโนทัศน์สมบูรณ์ (SU) และกลุ่มที่มีมโนทัศน์ไม่สมบูรณ์ (PU) เพิ่มขึ้นจากก่อนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 41.38 และ ร้อยละ 6.90 ตามลำดับ โดยโดยจำนวนนักเรียนมีความเข้าใจมโนทัศน์เรื่องสารในระดับอนุภาคในกลุ่มที่มีมโนทัศน์ถูกบางส่วน (PS) กลุ่มที่มีมโนทัศน์คลาดเคลื่อน (MU) และกลุ่มที่มีมโนทัศน์ผิด (NU) ลดลงจากก่อนการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 16.09 ร้อยละ 20.11 และร้อยละ 12.05 ตามลำดับ 3. จำนวนนักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยภาพเคลื่อนไหวมีความเข้าใจมโนทัศน์ในกลุ่มที่มีมโนทัศน์สมบูรณ์(SU)และกลุ่มที่มีมโนทัศน์ไม่สมบูรณ์ (PU) มากกว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยภาพนิ่ง ร้อยละ 6.61 และ ร้อยละ 1.43 ตามลำดับ และนักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยภาพเคลื่อนไหวมีความเข้าใจมโนทัศน์ ในกลุ่มที่มีมโนทัศน์ถูกบางส่วน (PS) กลุ่มที่มีมโนทัศน์คลาดเคลื่อน (MU) และกลุ่มที่มีมโนทัศน์ผิด(NU) น้อยกว่า นักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยภาพนิ่ง ร้อยละ 1.47 ร้อยละ 2.85 และร้อยละ 2.73 ตามลำดับ จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้ภาพเคลื่อนไหวและภาพนิ่งสามารถพัฒนาความเข้าใจมโนทัศน์เรื่อง สารในระดับอนุภาคได้ดียิ่งขึ้น แต่การใช้ภาพเคลื่อนไหวในการจัดการเรียนรู้สามารถพัฒนาความเข้าใจมโนทัศน์เรื่องสารในระดับอนุภาคได้ดีกว่าการใช้ภาพนิ่ง ในนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600232018 วสันต์ วันกาล.pdf6.01 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.