Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73907
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เดชา ศุภพิทยาภรณ์ | - |
dc.contributor.author | อุไรวรรณ ปู่เดือน | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T16:07:54Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T16:07:54Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73907 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were (1) to study the basic science process skill of grade 4-6 students, (2) to study the effect of Inquiry-Based Fieldwork (IBF) approach on the developing of basic science process skill of grade-5 students. The research was carried out in first semester of academic year 2020 at Ban Hauy Kong School, Omkoi Distriet, ChiangMai. The population of the first research objective were 74 grade 4-6 students. The research instrument is a total of 26 multiple choices basic science process skill test (0.20<p <0.80; r>0.15, KR-20 = 0.63) which was designed to measure skill of observing (4 items), measuring (5 items), classifying (4 items), data organizing and communicating (5 items), predicting (4 items) and inferring (4 items). Additional interviewing is also taken to support the quantitative data. The population of second research objective were 24 grade-5 students who took a science class taught by the researcher. The research instruments consist of 4 Inquiry-Based Fieldwork lesson plans (IOC > 0.80) and the basic science process skill test. The results indicate that, (1) the basic science process skill of grade 4-6 students were quite low (X-bar = 44.91%, SD = 4.57%). The Inquiry-Based Fieldwork approach helps increase students' basic science process skills at high level (Efiect Size = 1.76). The most developed basic science process skill was observing skill (Efiect Size = 2.02) and the least was classifying skill (Efiect Size = 0.61). The details are as discussed. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การเสริมสร้างทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ภาคสนาม | en_US |
dc.title.alternative | Fostering the basic science process skills of primary students through inquiry-based fieldwork learning | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนบ้านห้วยโค้ง | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษา (2) เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ ภาคสนามที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านห้วยโค้ง อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยคำเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวัดถุประสงค์ข้อที่ 1 เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 -6 จำนวน 74 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานเป็น ปรนัย 4 ตัวเลือก มีจำนวน 26 ข้อ (0.20 <p < 0.80; r >0.15 และ KR-20 = 0.63) ซึ่งออกแบบมาเพื่อ วัดทักษะการสังเกต (จำนวน 4 ข้อ) ทักษะการวัด (จำนวน 5 ข้อ) ทักษะการจำแนกประเภท (จำนวน 4 ข้อ) ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล (จำนวน 5) ทักษะการพยากรณ์ (จำนวน 4 ข้อ) และทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล (จำนวน 4 ข้อ) และได้ใช้การสัมภาษณ์เพิ่มเติมเพื่อให้ข้อมูลมี ความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น กลุ่มประชากรที่ใช้ในการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เป็นนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 24 คน ในวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย แผนจัดการเรีนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ภาคสนาม (IOC > 0.80) และแบบวัดทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ของชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 อยู่ในเกณฑ์ก่อนข้างต่ำ (X-bar = 44.91%, SD = 4.57%) (2) การ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้กาคสนามที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้น พื้นฐานของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในภาพรวมเพิ่มขึ้นในระดับสูง (Effect Size = 1.76 ) โดยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่เพิ่มขึ้นมากที่สุด คือ ทักษะการสังเกต (Effect Size = 2.02) ส่วนทักษะที่กระบานการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานที่เพิ่มขึ้นน้อยที่สุด คือ ทักษะ การจำแนกประเภท (Effect Size =0.61 ) และรายละเอียดอื่นๆ ตามที่ได้อภิปรายไว้ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590232089 อุไรวรรณ ปู่เดือน.pdf | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.