Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73906
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทธิกัญจน์ ทิพยเกสร | - |
dc.contributor.author | อมลรัศม์ิ จันเขียว | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T16:05:58Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T16:05:58Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73906 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to study the results of a series of local weaving learning activities in developing the scientific process skills of Karen students.The population of this study included 22 students studying in Grade 5 in the second semester of the Academic Year 2020 at Ban Thung Kae School. The rescarch instruments were questionnaires on the local wisdom of local weaving of Karen tribe in Mae Chaem distrct, Chiang Mai province , a series of local weaving learning activities borne out of the analysis of scientific knowledge in local weaving , lesson plans to develop the scientific process skills of local weaving and the tests to evaluate the scientific process skills of local weaving. The study was conducted by using the results of interviews with local wisdom on Karen weaving fabrics to analyze the knowledge, science and scientific process skills in local weaving. Create a series of learning activities about local weaving. Prepare a learning management plan to develop scientific process skills on local weaving, including teaching with activity scts. And prepare a test to measure the scientific process skills on local weaving. The tools were used for testing with sample students. To develop tools to be efiective. Used to develop the scientific process skills of the Karen students and the student population taught in Supplementary Science course. The results of the rescarch were as follows: When the student population learned with a series of local weaving learning activities, the post-study science process skill score was higher than before. The post-study score was 80.15% and the pre-school score was 47.26%. A Series of Local Weaving Learning Activities was able to develop the scientific process skills of the Karen students at a statistical significance level of .05. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ผ้าทอท้องถิ่น เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง | en_US |
dc.title.alternative | The Results of using the local woven fabric activity learning package to develop the science process skills of Karen students | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนบ้านทุ่งแก | - |
thailis.controlvocab.thash | การทอผ้า | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | - |
thailis.controlvocab.thash | กะเหรี่ยง | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ผ้าทอท้องถิ่นเพื่อ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง ประชากรในการศึกษา ครั้งนี้คือ นักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนบ้านทุ่งแก ห้องเรียนสาขาบ้านแม่แอบ จำนวน 22 คน จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับผ้าทอชนเผ่ากะเหรี่ยง อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ชุด กิจกรรมการเรียนรู้เรื่องผ้าทอท้องถิ่น แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์เรื่องผ้าทอท้องถิ่น และแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง ผ้าทอท้องถิ่น ดำเนินการศึกษาโดยการนำผลการสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับผ้าทอชนเผ่ากะเหรี่ยงมา วิเคราะห์องค์ความรู้วิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในผ้าทอท้องถิ่น จัดทำชุด กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ผ้าทอท้องถิ่น จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์เรื่องผ้าทอท้องถิ่นประกอบการสอนด้วยชุดกิจกรรม และจัดทำแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เรื่องผ้าทอท้องถิ่น นำเครื่องมือไปทดลองใช้กับนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง เพื่อพัฒนาเครื่องมือให้มีประสิทธิภาพ จนสามารถนำไปใช้เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงกับนักเรียนกลุ่มประชากร ผลการวิจัยพบว่า เมื่อนักเรียนกลุ่มประชากรได้เรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ผ้าทอ ท้องถิ่น ส่งผลให้คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน คือคะแนน เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับร้อยละ 80.15 และคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับร้อยละ 47.26 โดยคะแนนเฉลี่ย หลังเรียนกับก่อนเรียน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงให้เห็นว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ผ้าทอท้องถิ่นสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของ นักเรียนกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงได้ | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590232079 อมลรัศมิ์ จันเขียว.pdf | 7.89 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.