Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73905
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเดชา ศุภพิทยาภรณ์-
dc.contributor.authorพิไลลักษณ์ เอี๊ยะไพบูลย์en_US
dc.date.accessioned2022-08-16T16:03:28Z-
dc.date.available2022-08-16T16:03:28Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73905-
dc.description.abstractThis research aimed to study (1) force and motion held by upper-secondary students, (2) the results of Predict-Observe-Explain (POE) approach and Cooperative Learning (CL) Technique on the conceptions of force and motion among grade-10 students at an ethnic school in Chiang Mai located near Thailand-Burma border. It was carried out in the first semester of 2019 academic year. The target group of the first objective were upper-secondary students (n=95). The tool was a force and motion concept test which designed to probe students' conceptions of the acting of different forces in different contexts (9 items), force and motion related to the first and second laws of Newton (8 items) and, force and motion related to the third law of Newton (6 items). Addition interview were done to confirm the results. The target group of the second objective were a total of 32 grade-10 students (n=32). The tools were a total of 4-POE approach with CL technique lesson plans (IOC > 0.85) and the force and motion concept test used in the first section. The results indicate that (1) It is found that students' conception of the acting of different forces in different contexts is highest (X-bar = 38.95%, SD = 25.15%). While students' conceptions of force and motion related to the first and second laws of Newton is lowest (X-bar = 30.53 %, SD = 23.04 %) Additional interview results do confirm the quantitative data. (2) the POE approach with CL technique help increased students' conception of force and motion at a medium level (<g> = 0.41).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนามโนทัศน์เกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้ แบบทำนาย สังเกต อธิบายร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือen_US
dc.title.alternativeDevelopment of force and motion concepts of grade 10 students using predict-observe-explain and cooperative learning techniquesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashแรง-
thailis.controlvocab.thashการเคลื่อนที่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษามโนทัศน์แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (2) ศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบายร่วมกับการจัดเรียนรู้แบบร่วมมือที่มีต่อมในทัศน์เกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งอยู่ติดชายแดนไทย-พม่า โดยดำเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 กลุ่มเป้าหมายที่ ใช้ในการศึกษาวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 95 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบวัดมโนทัศน์ปรนัย 4 ตัวเลือกเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ มีจำนวน 23 ข้อ (0.20 <P < 0.80; r= 0.19 และ KR-20 = 0.94) ซึ่งออกแบบมาเพื่อวัดมโนทัศน์แรงและการเคลื่อนที่ ประกอบไปด้วยมโนทัศน์เกี่ยวกับการกระทำของแรงแบบต่างๆ ในบริบทที่ด่างกัน (9 ข้อ) แรงและการเคลื่อนที่ที่เกี่ยวข้องกับกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 และ 2 ของบิวตัน (8 ข้อ) และแรงและการเคลื่อนที่ที่เกี่ยวข้องกับกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 3 ของนิวตัน (6 ข้อ) และได้ใช้การสัมภาษณ์เพิ่มเติมเพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนกลุ่มเป้าหมายที่ใช้ไนการศึกษาวัดถุประสงค์ข้อที่ 2 เป็นนักเรียนชั้นมัฐยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วยแผนการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบายร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ จำนวน 4 แผน (IOC > 0.85) และแบบวัดมโนทัศน์แรงและการเคลื่อนที่ที่ใช้ในส่วนที่ 1 ผลการวิจัย พบว่า (1) มโนทัศน์เกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายอยู่ในระดับ ค่อนข้างต่ำ (X-bar = 35.01%, SD = 16.07% โดยที่พบว่ามโนทัศน์ของนักเรียนเกี่ยวกับการกระทำ ของแรงแบบต่างๆ ในบริบทที่ต่างกันอยู่ในระดับสูงที่สุด (X-bar - 38.95%, SD = 25.15%) ส่วนมโนทัศน์ของนักเรียนเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ที่เกี่ยวข้องกับกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 1 และ 2 ของนิวตัน อยู่ในระดับต่ำที่สุด (X-bar = 30.53 %, SD = 23.04 %) การสัมภาษณ์เพิ่มเติมสนับสนุน ข้อมูลเชิงปริมาณ (2) การจัดการเรียนรู้แบบทำนาย-สังเกต-อธิบายร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้ แบบร่วมมือส่งผลให้มโนทัศน์กี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนเพิ่มขึ้นในระดับปานกลาง (<g> = 0.41)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.