Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73883
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพฤกษ์ อักกะรังสี-
dc.contributor.authorเจษฎาปกรณ์ คนสอาดen_US
dc.date.accessioned2022-08-16T10:19:34Z-
dc.date.available2022-08-16T10:19:34Z-
dc.date.issued2021-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73883-
dc.description.abstractThis research aims to identify the effect of pretreatment of energy crops resulting in increasing biogas production efficiency. The energy crop selected in this study is Napier Pakchong 1 grass (Pennisetum Purpureum cv. Pakchong1) which contains significant complex fiber including cellulose, hemicellulose and lignin together with silica crystal which can obstruct or prolong biological degradation process. Thus, the pretreatment of the grass is obviously essential to biogas production process especially in commercial energy crop power plant. The scope of this work focuses on finding optimal conditions for the biological pretreatment of Napier Pakchong 1 grass using initial mixed microbe from cow manure. The various parameters include process temperature, aeration rate, retention time and microbe recycling ratio. The best pretreatment condition will be applied to treat substrate for further methane production potential following VDI 4630 procedure. The result suggests that at and optimized pretreatment conditions of 55 °C and aeration rate of 53.00 Nm3air per ton fresh substrate per day with 24-hour retention time yields 39.90% decrease in celulose composition causing 17.11% increase in reducing sugar content. The methane production potential of pretreated Napier Pakchong 1 grass is 108.17 m3/ton of fresh substrate, an increase of 8.31% compared to untreated case at 99.40 m3/ ton.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการปรับสภาพทางชีวภาพต่อความสามารถในการย่อย สลายเริ่มต้นของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1en_US
dc.title.alternativeEffect of biological pretreatment on initial decomposability for Pennisetum purpureum Pakchong 1en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashหญ้าเนเปียร์-
thailis.controlvocab.thashพืชพลังงาน-
thailis.controlvocab.thashก๊าซชีวภาพ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการปรับสภาพพืชพลังงานด้วยกระบวนการทางชีวภาพ เพื่อเร่งกระบวนการและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพ โดยพืชพลังงงานที่ใช้ในงานวิจัยนี้คือหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 (Pennisetum Purpureum cv. Pakchong1) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็น เซลลูโลส เฮมิเซลลูโลส และ ลิกนิน ซึ่งมีโครงสร้างทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมีลักษณะซับซ้อนสามารถขัดขวางการย่อยสลายของจุลินทรีย์ ดังนั้นสมมติฐานหลักของงานวิจัยนี้คือ การปรับสภาพวัตถุดิบเพื่อย่อยสลายขั้นต้นจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตก๊าซชีวภาพได้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพลังงานในโรงไฟฟ้าเชิงพาณิชย์จากพืชพลังงาน โดยขอบเขตของงานเลือกใช้กระบวนการย่อยสลายขั้นต้นทางชีวภาพในสภาวะมีอากาศ ใช้เชื้อตั้งต้นจะมูลโค ภายใต้สภาวะที่อุณหภูมิควบคุม (37 และ 55°C) และปรับเปลี่ยนอัตราการเติมอากาศ เพื่อทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อการปรับสภาพเบื้องต้นของวัสดุโดยประเมินจากอัตราการย่อยสลายของสารอินทรีย์ตั้งต้น และการเพิ่มขึ้นของสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายแล้ว จากนั้นจะนำตัวอย่างที่ไปหาศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนตามมาตรฐาน VDI 4630 จากผลการศึกษาพบว่าการปรับสภาพเบื้องต้นด้วยกระบวนการทางชีวภาพที่อุณหภูมิ 55°C อัตราการเติมอากาศที่ 53.00 Nm3air ต่อตันหญ้าสดต่อวันที่ระยะเวลากระบวนการ 24 ชั่วโมง ส่งผลให้องค์ประกอบเซลูโลสลดลงมากที่สุดร้อยละ 39.90 และได้ปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์เพิ่มขึ้นร้อยละ 17.11 และพบว่าศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนของหญ้าเนเปียร์ปากช่อง 1 ที่ผ่านการปรับสภาพมีศักยภาพการผลิตก๊าซชีวภาพสูงสุดเท่ากับ 108.17 Nm3 ต่อตันหญ้าเนเปียร์สด ซึ่งมีค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.31 เมื่อเทียบกับการผลิตก๊าซมีเทนจากวัตถุดิบที่ไม่ยังผ่านการปรับสภาพซึ่งผลิตได้ 99.40 Nm3 ต่อตันหญ้าเนเปียร์สดen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590631023 เจษฎาปกรณ์ คนสอาด.pdf8.95 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.