Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73878
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ชูชัย สมิทธิไกร | - |
dc.contributor.author | ณญาณี จริงจิตร | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-16T10:08:09Z | - |
dc.date.available | 2022-08-16T10:08:09Z | - |
dc.date.issued | 2022-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73878 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study were (1) to investigate levels of optimism, resilience, social support, problem-focused coping and well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces; and (2) to examine predicting power of optimism, resilience, social support, and problem-focused coping on well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces. The sample comprised of 398 civil service and government officers in the three southern border provinces; i.e (1) Yala, (2) Pattani, and (3) Narathiwat. The research instruments included a personal data questionnaire, the revised life orientation test (LOT-R), the 9-item resilient inventory (RI-9), the multidimensional scale of perceived social support, and the Brief COPE. The statistics used in data analysis were descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation and hierarchical multiple regression analysis. The results of this study are as follows: 1. Civil service in the three southern border provinces had the highest level of well-being at work. (M = 3.29, SD = .47) Government officers in the three southern border provinces had the high level of well-being at work. (M = 2.56, SD =.51) 2. Optimism did not predict well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces province (β = -.02, p >.01) 3. Resilience significantly predicted well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces province (β = .22, p<.01). 4. Social support significantly predicted well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces province (β = .33, p<.01). 5. Problem-focused coping significantly predicted well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces province (β = .34, p<.01). | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | สุขภาวะในการทำงาน | en_US |
dc.subject | การมองโลกในแง่ดี | en_US |
dc.subject | การฟื้นใจสู่สมดุล | en_US |
dc.subject | กลยุทธ์การจัดการปัญหาแบบมุ่งเน้นปัญหา | en_US |
dc.subject | social-support | en_US |
dc.subject | สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.subject | well-being at work | en_US |
dc.subject | พนักงานราชการ | en_US |
dc.subject | ข้าราชการ | en_US |
dc.subject | resilience | en_US |
dc.subject | problem-focused coping | en_US |
dc.title | ปัจจัยพยากรณ์สุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ | en_US |
dc.title.alternative | Factors predicting well-being at work of civil service and government officers in the three southern border provinces | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | ข้าราชการพลเรือน -- ความพอใจในการทำงาน | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าราชการพลเรือน -- ไทย (ภาคใต้) | - |
thailis.controlvocab.thash | คุณภาพชีวิตการทำงาน -- ไทย (ภาคใต้) | - |
thailis.controlvocab.thash | ความพอใจในการทำงาน --ไทย (ภาคใต้) | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ (1) เพื่อศึกษาระดับการมองโลกในแง่ดี การฟื้นใจสู่สมดุล การสนับสนุนทางสังคม กลยุทธ์การจัดการปัญหาแบบมุ่งเน้นปัญหา และสุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (2) เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณ์ของการมองโลกในแง่ดี การฟื้นใจสู่สมดุล การสนับสนุนทางสังคม และกลยุทธ์การจัดการปัญหาแบบมุ่งเน้นปัญหาที่มีต่อสุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน 398 คน เป็นข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ (1) จังหวัดยะลา (2) ปัตตานี และ (3) นราธิวาส เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยแบบสอบถามลักษณะส่วนบุคคล แบบวัดการมองโลกในแง่ดี แบบวัดการฟื้นใจสู่สมดุล แบบวัดการสนับสนุนทางสังคม และแบบวัดกลยุทธ์การจัดการปัญหาแบบมุ่งเน้นปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยาย การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเชิงชั้น ผลการวิจัย พบว่า 1. ข้าราชการพลเรือนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีสุขภาวะในการทำงานอยู่ในระดับสูงที่สุด (M = 3.29, SD = .47) พนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีสุขภาวะในการทำงานอยู่ในระดับสูง (M = 2.56, SD =.51) 2. การมองโลกในแง่ดีไม่สามารถพยากรณ์สุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (β = -.02, p >.01) 3. การฟื้นใจสู่สมดุลสามารถพยากรณ์สุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (β = .22, p <.01) 4. การสนับสนุนทางสังคมสามารถพยากรณ์สุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (β = .32, p <.01) 5. กลยุทธ์การจัดการปัญหาแบบมุ่งเน้นปัญหาสามารถพยากรณ์สุขภาวะในการทำงานของข้าราชการพลเรือนและพนักงานราชการในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (β = .33, p <.01) | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
IS 600132004 Nayanee.pdf | ส่งไฟล์งานที่มีปัญหาแก้ไขลายน้ำหน้า ข แต่ว่า Turnitin ส่งไปแล้วเมื่อวันที่ 22 ก.ค ไม่สามารถเข้าไปแก้ไขได้ค่ะ | 3.13 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.