Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73863
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Paiboon Hengsuwan | - |
dc.contributor.advisor | Ariya Svetamra | - |
dc.contributor.advisor | Mary Mostafanezhad | - |
dc.contributor.author | Tanya Promburom | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-15T12:03:00Z | - |
dc.date.available | 2022-08-15T12:03:00Z | - |
dc.date.issued | 2021-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73863 | - |
dc.description.abstract | This study focuses on place-making while integrating the concepts of feminist political economy and gender performance. This is to better understand how homestay tourism (CBT) in an ethnic Lahu community is gendered and with what political-economic implications. This research’s objectives are to: 1) examine the gender roles that Lahu women perform in homestay tourism; 2) examine the transforming of gender roles that are experienced among Lahu women, which are reproduced and contested in homestay tourism; and 3) explore the ways that Lahu women benefit or become challenged economically, socially, culturally, and politically by their participation in community-based tourism. This qualitative research is derived from eighteen months of fieldwork, mainly applying in-depth interviews, personal narratives, and participant observation techniques. Place-making in homestay tourism is interrelated among space, place, and gender; place is interrelated with the cultural construction of a ‘woman’ in gendered space. The home imbues a woman with the sense of a ‘woman’s place;’ it binds a woman with the experience of being a caring wife, mother, etc. This domestic ideology often creates gender inequality and oppression. This study addresses how CBT homestay tourism development has shaped women’s struggles to negotiate traditional gender roles, in the domestic and public spheres as well as in virtual (e.g., social media) spaces and places. Homestay tourism place-making, nowadays, overlaps with women’s roles in the public, domestic, and community spheres. As women now are playing primary roles in tourism management. They now have empowering connections with outsiders and more socio-economic status, including social and political empowerment. They are resultantly negotiating traditional gender roles, which are transforming, especially during high tourism season. However, women still cannot realize significant and autonomous family decision-making power. Moreover, women perform multiple gender identities (e.g., as mothers, wives, farmers, and homestay tourism entrepreneurs). They juggle a triple-burden struggle amid overlapping spheres: domestic-public-community place-making that is imbued with power relations related to negotiation, meaning, sense of place, and fluid relations. Homestay tourism, however, has transformed domestic activities into being value-work that is accepted by men and by overall society. Homestay tourism, by shifting non-market labor to market labor, hence blurs the line between the domestic and public spheres in terms of the social reproduction of gender roles. Thus, this study argues beyond the Feminist Political Economy argument that women are “double sex-blind” in the modes of production that lead to unpaid labor. Even women’s traditional roles as caretakers now can shift from being non-value work to value work in homestay tourism place-making. However, in terms of modes of production, women are still being challenged with experiencing exploitative labor. This phenomenon is based on their intersectionality (e.g., social class, ethnicity, and religion), which is the root of gender inequality. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | Performing gender roles in homestay tourism: place-making and social change for Lahu Women in Northern Thailand | en_US |
dc.title.alternative | การแสดงบทบาททางเพศภาวะในการท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์: การสร้างพื้นที่และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสำหรับผู้หญิงลาหู่ในภาคเหนือของประเทศไทย | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Gender identity -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.thash | Community-based tourism -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.thash | Tourist camps, hostels, etc. -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.thash | Lahu (Asian people) -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.thash | Ethnology -- Southeast Asia | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้เน้นใช้แนวคิดการสร้างสถานที่ผนวกกับแนวคิดด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองสตรีนิยมและแนวคิดการแสดงทางเพศภาวะ เพื่อทำความเข้าใจต่อการศึกษาการท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์ในชุมชนชาติพันธุ์ลาหู่บ้านจ่าโบ่ว่าเป็นการสร้างเพศภาวะและมีผลด้านเศรษฐกิจการเมืองอย่างไร วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ เพื่อตรวจสอบบทบาททางเพศภาวะที่ผู้หญิงลาหู่แสดงในการท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์ เพื่อตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของบทบาททางเพศภาวะของผู้หญิงลาหู่ที่ผลิตซ้ำและถูกทดแทนในการท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์ และเพื่อสำรวจวิธีที่ผู้หญิงลาหู่ได้รับผลประโยชน์และ/หรือกลายเป็นสิ่งที่ถูกท้าทายทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมืองโดยการมีส่วนร่วมในการท่องเที่ยวโดยชุมชน การวิจัยเชิงคุณภาพนี้ได้มาจากการทางานภาคสนามร่วม 18 เดือน โดยใช้เทคนิคหลักในการสัมภาษณ์เชิงลึก การเล่าเรื่องส่วนตัว และการสังเกตการณ์อย่างมีส่วนร่วม การสร้างสถานที่ในการท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์มีความสัมพันธ์กันระหว่างพื้นที่ สถานที่ และเพศภาวะ สถานที่มีความสัมพันธ์กับการประกอบสร้างทางสังคมของ "ผู้หญิง" ในพื้นที่เพศภาวะ บ้านผูกมัดผู้หญิงด้วยความรู้สึกที่เป็น ‘สถานที่ของผู้หญิง’ ผูกติดผู้หญิงด้วยประสบการณ์ของการเป็นภรรยา แม่ที่ดูแลเอาใจใส่ ฯลฯ อุดมการณ์เหย้าเรือนนี้มักสร้างความไม่เท่าเทียมกันทางเพศภาวะและการกดขี่ การศึกษานี้ได้นาเสนอถึงการพัฒนาบ้านพักแบบโฮมสเตย์ในการท่องเที่ยวโดยชุมชนที่ได้หล่อหลอมให้ผู้หญิงเหล่านี้ต่อสู้ดิ้นรนเพื่อต่อรองบทบาททางเพศสภาวะแบบดั้งเดิมทั้ง ปริมณฑลภายในบ้านและสาธารณะตลอดจนพื้นที่และสถานที่เสมือนจริง (โซเชียลมีเดีย) ปัจจุบันการสร้างสถานที่ท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์มีการทับซ้อนบทบาทของผู้หญิงทั้งปริมณฑลในบ้าน สาธารณะ และชุมชน ปัจจุบันผู้หญิงมีบทบาทหลักในการจัดการท่องเที่ยว ผู้หญิงเหล่านี้ได้รับการเสริมอำนาจโดยมีการติดต่อกับภายนอกและมีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น รวมทั้งการเสริมอำนาจทางสังคมและการเมือง ผู้หญิงเหล่านี้มีการเจรจาต่อรองเปลี่ยนแปลงอานาจบทบาททางเพศภาวะแบบดั้งเดิมโดยเฉพาะในช่วงฤดูท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม ผู้หญิงยังไม่มีอำนาจอิสระเต็มที่ในการตัดสินใจภายในครอบครัว นอกจากนี้ผู้หญิงแสดงอัตลักษณ์ทางเพศภาวะที่หลากหลาย (เช่น แม่ ภรรยา เกษตรกร และผู้ประกอบการท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์) พวกผู้หญิงต่อสู้กับภาระงานที่หนักเป็นสามเท่าในพื้นที่ซ้อนทับสามปริมณฑลในบ้าน สาธารณะและชุมชน ซึ่งผูกติดกับความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่เกี่ยวข้องกับการเจรจาต่อรอง ความหมาย ความรู้สึกของสถานที่ และความสัมพันธ์ที่ลื่นไหล อย่างไรก็ตาม การท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์ได้เปลี่ยนกิจกรรมในปริมณฑลสาธาณะให้กลายเป็นงานที่มีมูลค่าซึ่งเป็นที่ยอมรับของผู้ชายและสังคมโดยรวม การท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์ได้เปลี่ยนแรงงานนอกตลาดไปเป็นแรงงานในตลาด ด้วยเหตุนี้จึงทาให้เส้นแบ่งระหว่างปริมณฑลภายในบ้านและปริมณฑลสาธารณะในแง่งานการผลิตซ้ำของบทบาททางเพศภาวะไม่ชัดเจน ดังนั้นการศึกษานี้ได้ถกเถียงแนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองสตรีนิยมว่า ผู้หญิงถูกทาให้ “มืดบอดหรือมองไม่เห็นมิติทางเพศเป็นสองเท่า" ในรูปแบบของการผลิตที่นาไปสู่การใช้แรงงานที่ไม่ได้รับค่าจ้าง ถึงแม้ปัจจุบันบทบาทดั้งเดิมของผู้หญิงในฐานะผู้ดูแลจะสามารถเปลี่ยนจากงานที่ไม่ให้มูลค่าเป็นงานที่ให้มูลค่าในการสร้างสถานที่ท่องเที่ยวบ้านพักแบบโฮมสเตย์ แต่ผู้หญิงยังคงถูกท้าทายกับการใช้แรงงานแบบเอารัดเอาเปรียบในรูปแบบของการผลิต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความแตกต่างทางสังคมของพวกเขา (อาทิเช่น ชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา) ซึ่งเป็นรากฐานของความไม่เท่าเทียมกันทางเพศภาวะ | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590455901 ธันยา พรหมบุรมย์.pdf | 4.69 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.