Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73848
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยงยุทธ ยะบุญธง-
dc.contributor.advisorเพ็ชรี รูปะวิเชตร์-
dc.contributor.authorวันทนี ขุนรินชาen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T14:58:50Z-
dc.date.available2022-08-13T14:58:50Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73848-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) study the components of educational innovators of primary teachers under Chiang Rai Primary Educational Service Area 1, 2) to study methods of developing educational innovator of primary teachers under Chiang Rai Primary Educational Service Area 1, 3) to prepare and verify the guidelines for developing educational innovator of primary teachers under Chiang Rai Primary Educational Service Area 1. This research was divided into 3 phases. The research resources consisted of 18 topics of documents, research papers, and academic articles related to components of educational innovator of primary teachers. Key informants were selected by purposive sampling, consisting of faculty lecturers, supervisors, human resources personnel, school directors, and teachers involved in teacher development, promoting, supporting and creating educational innovation, for a total of 17 respondents. The instruments used were 1) a synthesis form for educational innovator components of primary teachers, 2) a verification form for educational innovator components of primary teachers, 3) a structured interview form of methods for developing educational innovator of primary teachers under Chiang Rai Primary Educational Service Area 1, and 4) the verification form of guidelines for educational innovator components of primary teachers. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, inductive analysis, and summarize methods for developing educational innovator methods of primary teachers. The research results were found that the educational innovator of primary teachers consisted of 3 components as follows: The first component was attitude and character with 6 indicators, the second component was skills with 5 indicators, and the third component was knowledge with 5 indicators. Concerning the methods for developing educational innovator of primary teachers were divided into 3 components as follows: The first component was attitude and character consisting of 9 methods, the second component was skills consisting of 14 methods, and the third component was knowledge consisting of 9 methods. The guidelines for developing educational innovator of primary teachers under Chiang Rai Primary Educational Service Area 1 were as follows: 1) principles / concepts, 2) objectives, 3) development methods, 4) evaluation methods, and 5) conditions for achievement. Additionally, the verification results of suitability and possibility were the highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวทางการพัฒนาen_US
dc.subjectความเป็นนวัตกรทางการศึกษาen_US
dc.subjectสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1en_US
dc.subjectGuidelines for developingen_US
dc.subjectEducational Innovatoren_US
dc.subjectChiang Rai Primary Educational Service Area 1en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาความเป็นนวัตกรทางการศึกษาของครูประถมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1en_US
dc.title.alternativeGuidelines for educational innovator development of primary teachers in Chiang Rai Primary Educational Service Area 1en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashนวัตกรรมทางการศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการศึกษาขั้นประถม -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบความเป็นนวัตกรทางการศึกษาของครูประถมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 2) ศึกษาวิธีการพัฒนาความเป็นนวัตกรทางการศึกษาของครูประถมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 3) จัดทำและตรวจสอบแนวทางการพัฒนาความเป็นนวัตกรทางการศึกษาของครูประถมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 ผู้วิจัยแบ่งการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เอกสาร งานวิจัย และบทความวิชาการที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษาของครู จำนวน 18 เรื่อง ผู้ให้ข้อมูลได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 17 คนประกอบด้วย อาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ นักทรัพยากรบุคคล ผู้อำนวยการสถานศึกษาและครู ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาครู ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา เครื่องมือที่ใช้คือ 1) แบบสังเคราะห์องค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษาของครู 2) แบบตรวจสอบองค์ประกอบความเป็นนวัตกรทางการศึกษาของครูประถมศึกษา 3) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง 4) แบบตรวจสอบแนวทาง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์แบบอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษาของครู ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 16 ตัวบ่งชี้ คือ องค์ประกอบที่ 1 ด้านทัศนคติและอุปนิสัย (Attitude and Character) ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบที่ 2 ด้านทักษะ (Skills) ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ และองค์ประกอบที่ 3 ด้านความรู้ (Knowledge) ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ ผลการศึกษาวิธีการพัฒนาความเป็นนวัตกร ทางการศึกษาของครูเมื่อแยกตามองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ มี 32 วิธีดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 ด้านทัศนคติและอุปนิสัย (Attitude and Character) มีวิธีการพัฒนา 9 วิธี องค์ประกอบที่ 2 ด้านทักษะ (Skills) มีวิธีการพัฒนา 14 วิธี และองค์ประกอบที่ 3 ด้านความรู้ (Knowledge) มีวิธีการพัฒนา 9 วิธี ส่วนแนวทางการพัฒนาความเป็นนวัตกรทางการศึกษาของครูประถมศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงรายเขต 1 ประกอบด้วย 1) หลักการ/แนวคิด 2) วัตถุประสงค์ 3) วิธีการพัฒนา 4) วิธีประเมินผล และ 5) เงื่อนไขความสำเร็จ ส่วนผลการตรวจสอบความเหมาะสม และความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232078 วันทนี ขุนรินชา.pdf2.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.