Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73844
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChidchanok Ruengorn-
dc.contributor.advisorUnchalee Permsuwan-
dc.contributor.advisorSetthapong Panyathong, M.D.-
dc.contributor.advisorKednapa Thavorn-
dc.contributor.authorSirayut Phatthanasobhonen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T08:25:19Z-
dc.date.available2022-08-13T08:25:19Z-
dc.date.issued2021-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73844-
dc.description.abstractPeritoneal dialysis (PD) was an important form of renal replacement therapy. This technique is more adaptable than hemodialysis. According to recent research, the treatment effects of PD are better than hemodialysis in the first 2-3 years of treatment. However, the technique survival in long-term PD is a great concern. the literature illustrated that only 50-70% of patients have survived more than five years. It also motivates researchers to investigate strategies to minimize premature dialysis failure by preserving peritoneal and renal function. Experiments studies have demonstrated that the renin-angiotensin-aldosterone system (RAAS) blockade that suppress Angiotensin II activity can delay the development of peritoneal fibrosis. It has long been established that these medications have a beneficial effect on maintaining renal function in patients with chronic kidney disease. It seems reasonable to extrapolate this result to patients undergoing dialysis. However, only a few studies have published on the efficacy of RAAS blockade therapy on RRF in PD patients. While potential membrane-protective properties of RAAS blockade have not been established in patients treated with PD, the objective of this study was to determine the peritoneal membrane and reno-protective effect of RAAS blockade as well as the economic impact of these drugs in Thailand. This research consisted of three phases. Phase 1 systematic review and network meta-analysis (NMA) was performed to summarize the current data on the efficacy of RAAS blockade therapy in patients with peritoneal dialysis. The key finding from the literature reviews and network meta-analysis is that long-term use more than 1 year of ACEI and ARB may have beneficial effects on maintaining rGFR mean difference 0.62 ml/min/1.73 m2 (95%CI 0.10 - 1.14) and avoiding anuria HR 0.62 (95%CI 0.41 - 0.95) in patients with PD in addition to their primary indications for hypertension and heart failure treatment, without raising adverse effects as compared to other antihypertensive medications. However, data on PD patients treated with RAAS blockade are limited. Observational data indicate a high degree of inconsistency among ACEI/ARB treatment comparison in patient with PD due to a total lack of evidence regarding their effectiveness, especially on peritoneal membrane function. Phase 2 studies examined the impact of RAAS inhibition on peritoneal function in patients treated long-term PD. The first one is a multi-center retrospective cohort study with 1,073 PD patients included. During a mean follow-up of three years (range 1-9 years), 424 patients received ACEI/ARB prescriptions. the remaining 649 patients were not received any ACEI/ARB prescription during the study period. The primary outcomes were ultrafiltration failure and technique failure. When inverse probability weighting propensity score was used, the ACEI/ARB treated group demonstrated lower ultrafiltration failure HR 0.53 (95%CI 0.40 – 0.69) and provide better technique survival HR 0.59 (95%CI 0.42 – 0.83) when compared to the control group. The second study was a pilot RCT designed to assess the effect of adding spironolactone (an aldosterone receptor antagonist) to losartan (an ARB) on peritoneal membrane function as measured by PET. all patients involved in this study received PD for a minimum of three months. Twenty-seven patients were randomly allocated to receive losartan in combination with spironolactone, and 23 patients received losartan alone. When the peritoneal membrane transport parameters D/P Cr, D/D0 glucose, and CA-125 were compared, no major difference between the two groups was observed. As compared to losartan alone, the spironolactone plus losartan group has a higher rate of side effect including hyperkalemia (14%), hypotension (3.6%), and mastitis (7%). The results of phase 2 indicated that the use of ACEI/ARB could prevent ultrafiltration failure and increase technique survival in patients with peritoneal dialysis. In comparison to ACEI or ARB alone, adding aldosterone receptor antagonist did not result in increased advantage and trend toward increased adverse events. However, RCTs with a longer follow-up period and greater samples are essential to establish the effect of add-on therapy on membrane protection. Phase 3 The aim of this study was to ascertain the cost-utility of treatment with ACEI/ARB in Thailand's PD patient population. This research compared two treatment strategies for patients with peritoneal dialysis. the first treatment strategy was patients treated with an ACEI/ARB and second strategy was those treated with other antihypertensive drugs (non-ACEI/ARB). A Markov model with a lifetime horizon was developed using previously published data from Thailand to simulate the progression of disease in peritoneal dialysis patients. A healthcare provider perspective was carried out. In the base-case analysis, PD patients treated with ACEI and ARB results was not only higher in quality adjusted life year gain (0.11 QALYs and 0.09 QALYs for ACEI and ARB, respectively), but also higher costs (7,692 Baht and 4,689 Baht for ACEI and ARB, respectively). The ICER was lower than Thailand's appropriate willingness to pay threshold of 160,000 Thai baht/QALY, as determined by the analysis ICER for ACEI prescription which was 72,773 Baht/QALY, ICER for ARB was 53,690 Baht/QALY and ICER for ACEI compared to ARB was 163,561 Baht/QALY. In conclusion, ACEI and ARB therapy for non-anuric patients on peritoneal dialysis was cost-effective in Thai peritoneal dialysis patients and thus should be considered as a first-line antihypertensive treatment in patient treated with peritoneal dialysis.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe effect of Renin-Angiotensin-Aldosterone system blockage on peritoneal membrane function and economic outcomes in peritoneal dialysis patientsen_US
dc.title.alternativeผลของการยับยั้งระบบเรนินแองจิโอเทนซินแอลโดสเตอโรนต่อการทำงานของผนังเยื่อบุช่องท้อง และผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashKidneys -- Diseases-
thailis.controlvocab.thashKidneys -- Patients-
thailis.controlvocab.thashRenin-Angiotensin-Aldosterone system-
thailis.controlvocab.thashPeritoneum-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการล้างไตทางช่องท้องเป็นการบำบัดทดแทนไตที่สำคัญวิธีหนึ่ง ซึ่งเป็นวิธีที่มีความยืดหยุ่นมากกว่าการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม การศึกษาในปัจจุบันแสดงให้เห็นว่าการล้างไตทางช่องท้องมีอัตราการเสียชีวิตที่ต่ำกว่าการฟอกเลือดด้วยด้วยเครื่องไตเทียมในช่วง 2 -3 ปีแรกของการรักษาอย่างไรก็ตามการล้างไตทางช่องท้องมีอัตราการเกิดความล้มเหลวจากการรักษาสูง พบว่ามีผู้ป่วยเพียงร้อยละ 50 ถึง 70 ที่ทำการล้างไตทางช่องท้องได้นานเกิน 5 ปี ส่งผลให้มีการศึกษาจำนวนมากที่พยายามศึกษาวิธีการรักษารูปแบบต่างๆเพื่อป้องกันการเกิดความส้มเหลวจากการรักษาโดยการชะลอการเสื่อมของเยื่อบุช่องท้อง และการทำงานของไตที่เหลืออยู่ มีการศึกษาเชิงทดลองพบว่าการให้ยายับยั้งระบบเรนินแองจิโอเทนซินแอลโดสเตอโรนสามารถลดการทำงานของแองจิโอเทนซิน 2 และสามารถป้องกันการเกิดพังผืดของเยื่อบุผนังช่องท้องชื่งเป็นภาวะแทรกช้อนที่เกิดขึ้นในที่ผู้ป่วยล้างไตช่องท้องเป็นระยะเวลานาน ถึงแม้จะเป็นที่ทราบกันดีว่ายาดังกล่าวสามารถป้องกันการเสื่อมของการทำงานของไตในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังได้ อย่างไรก็ตามการศึกษาที่แสดงถึงประสิทธิภาพของยายับยั้งระบบเรนินแองจิโอเทนซินแอลโดสเตอโรน ในการชะลอการการเสื่อมของไต รวมถึงประสิทธิภาพในการป้องกันเยื่อบุช่องท้องในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องยังมีอยู่จำนวนน้อย ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินประสิทธิภาพของยายับยั้งระบบเรนินแองจิโอเทนซินแอลโดสเตอโรนต่อการชะลอการเสื่อมของการทำงานของไต และการป้องกันเยื่อบุผนังช่องท้อง รวมถึงประเมินผลลัพธ์ทางเศรษฐศาสตร์ของการใช้ยาในประเทศไทข โดยการศึกษาครั้งนี้แบ่งออกเปีน 3 ระยะ ได้แก่ระยะที่ 1 การศึกษารูปแบบการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบและการวิเคราะห์อภิมานเครือข่ายเพื่อรวบรวมและสรุปข้อมูลด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการใช้ยายายับยั้งระบบเรนินแองจิโอเทนซินแอลโดสเตอโรนในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้อง ผลการศึกษาพบว่าการใช้ยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์นานเกิน 1 ปีสามารถชะลอการลดลงของอัตราการกรองของไตเฉลี่ย 0.62 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร (ความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 เท่ากับ 0.10 ถึง 1.14) และสามารถป้องกันการเกิดภาวะไร้ปัสสาวะได้ 0.62 เท่า (ความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 เท่ากับ 0.41 ถึง 0.95) ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องได้นอกเหนือไปจากข้อบ่งใช้หลักในการรักษาความดันโลหิตสูงและหัวใจล้มเหลว โดยไม่เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอาการไม่พึงประสงค์เมื่อเทียบกับความลดความดันโลหิตอื่นๆ อย่างไรก็ตามในการศึกษานี้ยังมีข้อจำกัดสำคัญคือมีความไม่สอดคล้องกันของผลลัพธ์การศึกษาโดยเฉพาะในการศึกษาเชิงสังเกต นอกจากนี้ยังไม่สามารถสรุปผลของยาต่อการป้องกันการเสื่อมของเยื่อบุช่องท้องได้เนื่องจากจำนวนการศึกษาที่ไม่เพียงพอ ระยะที่ 2 มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการได้รับยายับยั้งระบบเรนินแองจิโอเทนซินแอลโดสเตอโรนต่อการป้องกันการเสื่อมของเยื่อบุช่องท้องในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องเป็นระยะเวลานานโดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงสังเกตุแบบพหุสถาบันเก็บข้อมูลย้อนหลัง โดยมีผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่ถูกคัดเข้าการศึกษาจำนวน 1,073 ราย ระยะเวลาติดตามเฉลี่ย 3 ปี (ระหว่าง 1-9 ปี), แบ่งเป็นผู้ป่วยที่ได้รับยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์จำนวน 424 ราย และ ได้รับการรักษาด้วยยาลดความดันอื่นจำนวน 649 ราย ผลลัพธ์หลักของการศึกษาคือการเกิดความล้มเหลวของการกรองผ่านเยื่อบุช่องท้อง และ ความล้มเหลวของการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้อง หลังจากการวิเคราะห์ด้วยวิธีถ่วงน้ำหนักของคะแนนความโน้มเอียงพบว่าการ ได้รับยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์มีอัตราการเกิดความล้มเหลวของการกรองผ่านเยื่อบุช่องท้องลดลง 0.53 เท่า (ความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 เท่ากับ 0.40 ถึง 0.69) และความล้มเหลวของการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องลดลง 0.59 เท่า (ความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95 เท่ากับ 0.42 ถึง 0.83) ต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนที่ 2 เป็นการศึกษานำร่องแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมเพื่อศึกษาผลของการได้รับยายับยั้งยาแอลโคสเตอโรน คือ สไปโโนแลโตนร่วมกับยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ คือ ลอซาร์แทนต่อการทำงานของเยื่อบุช่องท้องด้วยการทดสอบประสิทธิภาพเยื่อบุช่องท้อง ผู้ป่วยทุกรายที่เข้าร่วมการวิจัยต้องทำการล้างไตทางช่องท้องไม่ต่ำกว่า 3 เดือน ผู้ป่วยจำนวน 27 รายถูกสุ่มให้ได้รับยาสไปโรโนแลคโตนร่วมกับยาลอซาร์แทน และผู้ป่วย 23 คนถูกสุ่มให้ได้รับยาลอซาร์แทนเดี่ยวหลังจากผู้ป่วยได้รับยาเป็นระยะเวลา 3 เดือน พบว่าไม่มีความแตกต่างของตัวแปร ที่แสดงถึงประสิทธิภาพการทำงานของเยื่อบุผนังช่องท้อง เช่น อัตราส่วนของคริเอตินินในกระแสเลือดต่อน้ำยาล้างไต และความเข้มข้นของกลูโคสในน้ำยาล้างไตที่เวลาเริ่มต้นและที่ 4 ชั่วโมง รวมถึงระดับแคนเซอแอนติเจน 125 ในน้ำยาระหว่างกลุ่มที่ได้รับยาสไปโรโนแลคโตนร่วมกับยาลอซาร์แทนและกลุ่มที่ได้รับยาลอซาร์แทนเดี่ยว นอกจากนี้การได้รับยาสไปโรโนแลคโตนร่วมกับยาลอซาร์แทนยังพบเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ได้แก่ ภาวะโพเทสเซียมในเลือดสูง (ร้อยละ 14) ความดันโลหิตต่ำ (ร้อยละ3.6) และภาวะเต้านมอักเสบ (ร้อยละ 7) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับลอซาร์แทนเดี่ยว ดังนั้นในการศึกษาระยะที่ 2 สามารถสรุปได้ว่าการได้รับยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์สามารถป้องกันการเกิดความล้มเหลวของการกรองผ่านเยื่อบุช่องท้อง และความล้มเหลวของการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องได้ดีกว่ายาลดความดันชนิดอื่น แต่การ ใช้ยายับยั้งแอลโดสเตอโรนร่วมกับยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ไม่ได้รับประโยชน์เพิ่มเติมและยังทำให้เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์สูงขึ้น อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาแบบสุ่มและมีกลุ่มควบคุมที่มีจำนวนผู้เข้าร่วมการศึกษาจำนวนมากขึ้นและมีการติดตามผลลัพธ์ที่ยาวนานขึ้นเพื่อยืนยันประสิทธิภาพของยาต่อการป้องกันการเสื่อมของเยื่อบุช่องท้องต่อไประยะที่ 3 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินต้นทุน-อรรถประโยชน์ของการรักษาด้วยยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ในผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องในประเทศไทย ทำการเปรียบเทียบการรักษา 2 แบบ ในการป้องกันการเกิดภาวะไร้ปัสสาวะ ได้แก่ การรักษาด้วยยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนชินรีเซพเตอร์และการรักษาด้วยยาลดความดันชนิดอื่น การศึกษานี้ใช้แบบจำลองมาร์คอฟโดยอาศัยข้อมูล จากการศึกษาในประเทศไทยที่ผ่านมาในการจำลองการดำเนินไปของโรคตั้งแต่ผู้ป่วยเริ่มล้างไตจนถึง ผู้ป่วยเสียชีวิตโดยใช้มุมมองทางสังคมในการราบรวมข้อมูลและคำนวนต้นทุนในการวิเคราะห์พื้นฐานผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องที่ได้รับยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ดิงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์มีค่าปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้น (0.11 ปีสุขภาวะ และ 0.09 ปีสุขภาวะตามลำดับ) ในขณะเดียวกันก็มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น (7,692 บาท และ 4,689 บาท) โดยเมื่อคำนวนค่าต้นทุนประสิทธิผลส่วนเพิ่มพบว่าค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นต่อปีสุขกาวะมีค่าต่ำกว่าเกณฑ์ความคุ้มค่าคุ้มทุนของประเทศไทยที่ 160,000 บาทต่อปีสุขภาวะ โดยค่าใช้จ่ายต่อปีสุขภาวะที่เพิ่มขึ้นสำหรับการสั่งใช้ยากลุ่มยับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ คือ 72,773 บาท/ปีสุขภาวะ ค่าใช้ง่ายที่เพิ่มขึ้นของการสั่งใช้ยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์ คือ 53,690 บาท/ปีสุขภาวะ และเมื่อเปรียบเทียบยายับยั้งแองจิ โอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ กับยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์พบว่ามีค่าใช้ง่ายที่เพิ่มขึ้นต่อปีสุขภาวะ คือ 163,561 บาท สรุปแล้วการรักษาด้วยยายับยั้งแองจิโอเทนซินคอนเวอร์ติงเอนไซม์ และยายับยั้งแอนจิโอเทนซินรีเซพเตอร์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะไร้ปัสสาวะในประเทศไทยมีความคุ้มค่าคุ้มทุนและเชื่อว่ายาดังกล่าวควรถูกพิจารณาเป็นทางเลือกแรกในผู้ป่วยที่ไม่มีข้อห้ามใช้ยาen_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
571051004 ศิรยุทธ พัฒนโสภณ.pdf5.51 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.