Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73827
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPathairat Pastpipatkul-
dc.contributor.advisorWoraphon Yamaka-
dc.contributor.authorKanyaphon Phetsakdaen_US
dc.date.accessioned2022-08-13T01:31:53Z-
dc.date.available2022-08-13T01:31:53Z-
dc.date.issued2022-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73827-
dc.description.abstractThis study focuses on The Impact of Haze Crisis on Tourist Receipts in the Upper Northern, Thailand. The study employs tourism receipts from two groups of visitors: domestic tourists and international tourists. China, Malaysia, Russia, Japan, and Korea, represent the international tourists in this study. The determinant variables are considered as following the Particulate matter (PM10), consumer price index, consumer confidence index, exchange rate, and unemployment rate. The monthly data covered from January 2015 to December 2020 will be used in this study, totaling 72 observations. There are two main objectives that are focused upon. First, it aims to explain the time varying impact of haze crisis on Thai domestic tourist’s receipts in the upper northern of Thailand. Second, to explain the time varying impact of haze crisis on Thai international tourist’s receipts in the upper northern of Thailand. The findings showed that, the coefficient provides a different sign and trend for domestic and international tourists. One possible reason for the provinces that provide a positive or constant trend is lack of Government reports about the hazard of haze problem in northern Thailand, whereas government concern about the Northern economy as the most of revenue comes from the tourism sector. Then, the haze crisis might not affect on tourists that have no information about this problem. Another reason is that the haze crisis might not affect tourists’ receipts in the short run. Tourists who have already made their plans to visit upper northern Thailand are less likely to change them due to the haze crisis. In other words, tourists might be more concerned about the haze problem on their traveling plans through time. The result can be concluded that domestic, Chinese, Korean and Malaysian tourists might be more concerned about traveling to less visited destinations than scenery towns during haze crisis. On the other hand, Russian tourists generate a negative effect of haze crisis in scenery towns. In addition, this finding supports the non-Asians have highly positive attitudes towards natural environmental responsibility. As the Russian tourist’s receipt provides the largest negative effect than other countries. The dynamic linear model by Bayesian estimated is recommended to apply in further research. This method can be used to solving in the problem of overestimation and provides a correct distribution. Additionally, the idea of Kalman filter in this model can be used to deal with the problem of starting a value in the result. The government should pay attention to haze pollution, which damages tourist receipts in the long run. Additionally, Thai authorities should provide effective measures to control air pollution and improve air quality. Finally, policymakers should take effective measures to recover the potential damage to the destination’s brand and image that might be caused by air pollution.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectTourist's receipten_US
dc.subjectHaze crisisen_US
dc.subjectUpper Northern, Thailanden_US
dc.titleThe impact of haze crisis on the tourist's receipts in the upper Northern, Thailanden_US
dc.title.alternativeผลกระทบของวิกฤตค่าฝุ่นละอองในอากาศต่อรายได้การท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบน ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAir -- Pollution -- Northern (Thailand)-
thailis.controlvocab.lcshDust -- Northern (Thailand)-
thailis.controlvocab.lcshTravel -- Northern (Thailand)-
thailis.controlvocab.lcshTravel -- Income-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์มุ่งเน้นวิเคราะห์ผลกระทบของของวิกฤตค่าฝุ่นละอองในอากาศต่อรายได้การท่องเที่ยวภาคเหนือตอนบท ประเทศไทย การศึกษาผลกระทบของรายได้การท่องเที่ยวของนักท่องแบ่งออกเป็น นักท่องเที่ยวภายในประเทศและนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ทำรายได้การท่องเที่ยวสูงสุด 5 อันดับในภาคเหนือตอนบน ได้แก่ ประเทศจีน ประเทศญี่ปุ่น ประเทศเกาหลี ประเทศมาเลเซีย และประเทศรัสเซีย โดยมีวัตถุประสงค์แบ่งออกเป็นสองประเด็นหลัก ได้แก่ 1. ศึกษาผลกระทบของวิกฤตค่าฝุ่นละอองในอากาศต่อรายได้การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวในประเทศ ภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย และ 2. ศึกษาผลกระทบของวิกฤตค่าฝุ่นละอองในอากาศต่อรายได้การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวต่างชาติ ภาคเหนือตอนบนประเทศไทย การศึกษานี้อาศัยแบบจำลอง พลวัติแบบเส้นตรง เพื่ออธิบายผลกระทบของรายได้การท่องเที่ยวที่เปลี่ยนไปตามเวลา ผลการวิจัยพบว่าค่าสัมประสิทธิ์ให้ทิศทางและแนวโน้มที่แตกต่างกันออกไปสำหรับนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ สาเหตุหนึ่งที่เป็นไปได้สำหรับจังหวัดที่ให้ค่าสัมประสิทธิ์ในเชิงบวกหรือคงที่คือการขาดการรายงานของภาครัฐเกี่ยวกับปัญหาหมอกควันที่รุนแรงในภาคเหนือตอนบนของประเทศ ดังนั้นนั้นวิกฤตหมอกควันจึงอาจไม่ส่งผลกระทบต่อนักท่องเที่ยวที่ไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหานี้มาก่อน อีกสาเหตุหนึ่งคือวิกฤตหมอกควันอาจไม่ส่งผลกระทบต่อรายรับของนักท่องเที่ยวในระยะสั้น เนื่องจากนักท่องเที่ยวได้มีการวางแผนการท่องเที่ยวไว้แล้ว และมีโอกาสน้อยที่เปลี่ยนแปลงแผนการดังกล่าวในระยะสั้น กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ นักท่องเที่ยวอาจกังวลเกี่ยวกับปัญหาหมอกควันในการวางแผนการเดินทางในระยะยาวมากกว่า นอกจากนี้การศึกษายังแสดงให้เห็นได้ว่า นักท่องเที่ยวภายในประเทศ และนักท่องเที่ยวต่างชาติบางประทศ ได้แก่นักท่องเที่ยวชาวจีน นักท่องเที่ยวชาวเกาหลีและนักท่องเที่ยวชาวมาเลเซียอาจจะเลือกเดินทางไปยังเมืองรองน้อยกว่าเมืองหลักในช่วงวิกฤตหมอกควัน อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษารายได้ของนักท่องเที่ยวชาวรัสเซียพบว่ามีผลกระทบด้านลบจากวิกฤตหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ นอกจากนี้ การการศึกษาครั้งนี้ยังสนับสนุนการศึกษาก่อนหน้าที่ว่า Non -Asian มีทัศนคติเชิงบวกอย่างมากต่อความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ เนื่องจากรายได้การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวชาวรัสเซียได้รับผลกระทบจากหมอกควันมากกว่าประเทศอื่น รัฐบาลควรใส่ใจกับปัญหามลภาวะจากหมอกควันซึ่งอาจสร้างความเสียหายให้กับรายรับจากนักท่องเที่ยวทั้งใน และต่างประเทศในระยะยาวได้ และนอกจากนี้ ภาครัฐควรจัดให้มีมาตรการที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมมลพิษทางอากาศและปรับปรุงคุณภาพอากาศไปในเวลาเดียวกัน อีกทั้งผู้กำหนดนโยบายควรใช้มาตรการที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับภาพลักษณ์ของสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆที่อาจเกิดจากมลพิษทางอากาศได้ ในการศึกษาครั้งหน้าได้มีแนะนำให้ใช้แบบจำลองเชิงเส้นแบบพลวัตโดยการประเมินแบบเบย์เซียนในการวิจัย แบบจำลองเชิงเส้นแบบพลวัตโดยใช้วิธีการประมาณแบบเบย์เซียนสามารถใช้ในการแก้ปัญหาการประเมินค่าที่สูงเกินไปและให้การแจกแจงที่ถูกต้องของผลลัพธ์ อีกทั้งยังสามารถแก้ไขปัญหาค่าเริ่มต้นที่สูงเกินไปซึ่งเป็นจุดอ่อนของโมเดลที่ใช้ในการศึกษาปัจจุบันได้en_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
haze crisis-Kanyaphon 611635920.pdf5.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.