Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลภัทร เหมวรรณ-
dc.contributor.advisorอริศรา เจริญปัญญาเนตร-
dc.contributor.authorพิมพกานต์ บุญสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2022-08-12T01:33:46Z-
dc.date.available2022-08-12T01:33:46Z-
dc.date.issued2022-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73825-
dc.description.abstractSpatial Epidemiological Analysis and Incidence Area Prediction of Scrub Typhus Disease in Mae Fa Luang District, Chiang Rai Province. The objectives of this study are to study the distribution pattern of the incidence of scrub typhus in Mae Fah Luang District Chiang Rai Province, analyse physical factors affecting the incidence of scrub typhus, and predict the incidence of scrub typhus in Mae Fah Luang District Chiang Rai by creating of a regression model. We analyse the scrub typhus incidence data in Mae Fah Luang District Chiang Rai Province, in terms of area and population, covering the period 2014 to 2018. We use the Average Nearest Neighbor Index and Kernel Density Estimation to analyse the point pattern of the cases. The analysis was performed using Landsat-8 OLI satellite imagery. The physical factors were determined, including NDVI, NDWI, temperature, elevation, and land use. These factors were then analysed by Pearson's correlation coefficient. The data of physical factors were used as the independent variable to create the predicted Scrub Typhus Incidence model. The results showed that Scrub Typhus Incidence is scattered in many areas. Most of the outbreak areas were in the north of Mae Fah Luang District and decreased as they approached Mueang Chiang Rai District. Scrub Typhus cases happen more in areas adjacent to the edge of the forest, such as Mae Fah Luang District. In addition, the distribution is a random pattern from January-May and clustered pattern from June-December. The incidences were spread, and the severity of the disease increased in June-December, the highest in the rainy season, winter and summer, respectively. The critical areas from the density analysis were Ban Thoet Thai, Ban Hin Taek, Ban Huai Eun, and Ban Thoet Thai Nueng, respectively. In particular, the regression model had relationship with NDVI (0.5-0.6), NDWI ((-0.7)-(-0.5)), temperature (20-26 °C), elevation (400-1000 meters MSL), Landuse (forest-grass-shrub) with R2 of 0.761. The above results show the importance of spatial analysis, which would be useful for other rural areas, sparsely populated areas surrounded by forests near the border, depending on the spatial heterogeneity of outbreaks of scrub typhus.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectScrub Typhus ; Geo-Information techniques ; Spatial Analysis ; Spatial statistics ; Landsat-8 OLTen_US
dc.titleการวิเคราะห์ระบาดวิทยาเชิงพื้นที่และการคาดการณ์พื้นที่อุบัติการณ์ของโรคสครับไทฟัสในอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeSpatial epidemiological analysis and incidence area prediction of scrub typhus disease in Mae Fa Luang District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashโรคสครับไทฟัส-
thailis.controlvocab.thashโรคระบาด -- การป้องกัน-
thailis.controlvocab.thashโรคระบาด -- เชียงราย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาระบาดวิทยาเชิงพื้นที่และการคาดการณ์พื้นที่อุบัติการณ์ของโรคสครับไทฟัสในอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ ได้แก่ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการกระจายตัวของอุบัติการณ์ของโรคสครับไทฟัส ในอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย และ 2) เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพที่ส่งผลต่ออุบัติการณ์ของโรคสครับไทฟัส และสร้างสมการคาดการณ์อุบัติการณ์ของโรคสครับไทฟัสในอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย โดยการศึกษาข้อมูลผู้ป่วยโรคสครับไทฟัสในอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2557-2561 มาวิเคราะห์สถานการณ์โรคสครับไทฟัส และบริบทของพื้นที่ศึกษารวมถึงประชากร นำมาวิเคราะห์ด้วยค่าเฉลี่ยความใกล้เคียงของดัชนี และการวิเคราะห์ความหนาแน่นโดยใช้เทคนิคการคาดประมาณความหนาแน่นเชิงพื้นที่แบบเคอร์เนล ในส่วนของการสร้างแบบจำลองดำเนินการโดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat-8 OLI ตรวจหาปัจจัยทางกายภาพ ดัชนีความแตกต่างพืชพรรณ ดัชนีความแตกต่างของความชื้น อุณหภูมิ ความสูงของภูมิประเทศ และการใช้ประโยชน์ที่ดิน จากนั้นปัจจัยเหล่านี้นำไปวิเคราะห์ร่วมกับอุบัติการณ์โรคสครับไทฟัสด้วยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน เพื่อสร้างแบบจำลองคาดการณ์อุบัติการณ์โรคสครับไทฟัส ผลการศึกษาพบว่าอุบัติการณ์โรคสครับไทฟัสพบพื้นที่ระบาดทางตอนเหนือของอำเภอแม่ฟ้าหลวง และการระบาดลดลงเมื่อบริเวณใกล้ตัวเมืองเชียงรายโดยจากการศึกโรคสครับไทฟัสที่พบในอำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย และพบการกระจายตัวเกิดให้พื้นที่ชุมชนเบาบางเนื่องจากหมู่บ้านติดต่อกับพื้นที่ชายป่า ส่วนเดือนมกราคมถึงเดือนพฤษภาคมเป็นแบบสุ่ม ทั้งนี้ความรุนแรงของโรคจะเพิ่มขึ้นและขยายวงกว้างมากขึ้นในเดือนมิถุนายนถึงเดือนธันวาคม เนื่องจากมีรูปแบบรวมกลุ่ม อุบัติการณ์มีความคล้ายคลึงกันโดยความรุนแรงของโรคจะมากที่สุดในฤดูฝน รองลงมา คือ ฤดูหนาว และฤดูร้อน ตามลำดับ โดยพื้นที่วิกฤตของโรคพบบริเวณบ้านเทอดไทย บ้านหินแตก บ้านห้วยอื้น และบ้านเทอดไทยหนึ่ง ตามลำดับ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยการใช้สหสัมพันธ์เพียร์สันเพื่อพิจารณาปัจจัยนำเข้าข้อมูลสู่แบบจำลองพบว่า ปัจจัยด้านความสูงภูมิประเทศมีความสัมพันธ์สูงที่สุดจาก 5 ปัจจัย ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 นอกจากนี้แบบจำลองคาดการณ์อุบัติการณ์โรคสครับไทฟัส พบว่าปัจจัยที่สัมพันธ์กับโรคสครับไทฟัส ได้แก่ ช่วงค่าดัชนีความแตกต่างพืชพรรณ ระหว่าง 0.5-0.6 ช่วงค่าดัชนีความแตกต่างของความชื้น ระหว่าง (-0.7)-(-0.5) ช่วงอุณหภูมิ 20-26 °C และที่ความสูง 400-1000 เมตรจากระดับทะเลปานกลาง การใช้ที่ดินประเภทพื้นที่ป่า และการใช้ที่ดินประเภทพื้นที่ทุ่งหญ้าหรือไร่หมุนเวียนโดยแบบจำลองมีค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ เท่ากับ 0.761 ผลลัพธ์ที่กล่าวมาข้างต้นแสดงถึงความสำคัญของการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ เพื่อช่วยวิเคราะห์พื้นที่ที่เข้าถึงได้ลำบากอย่างโรคสครับไทฟัสในพื้นที่ที่มีประชากรเบาบาง และบริเวณโดยรอบเป็นผืนป่า ใกล้เขตชายแดน รวมถึงความแตกต่างเชิงพื้นที่ที่ส่งผลต่อการระบาดของโรคสครับไทฟัสen_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.