Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73810
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Rossarin Ostanankul | - |
dc.contributor.advisor | Woraphon Yamaka | - |
dc.contributor.author | Itsarawadee Hema | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-07T10:32:21Z | - |
dc.date.available | 2022-08-07T10:32:21Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73810 | - |
dc.description.abstract | Contagion has been one of the most widely investigated and challenging problems in recent economic research, especially, why some crises appear to be contagious and why some developing countries appear to be vulnerable to contagion. This study aims to measure the lower tail dependence as risk contagion from the U.S. economy to 18 developing countries affecting FDI inflows, by using time-series data from 2005 to 2019. Firstly, the research utilizes four dynamic copula models, namely, Student-t, Clayton, rotated survival Gumbel, and rotated survival Joe, to measure the tail dependence structure between the U.S. and each developing country's real GDP growth. Secondly, the regression model is used to explore the contagion effect on FDI inflows. The empirical results show that there is evidence of the tail dependence between the U.S and developing economies, indicating the presence of the contagion effects. Primarily, it is observed that the degree of contagion effect of the global financial crisis varies across countries; strong effect is observed in the Chinese, South African, Russian, Colombian, and Mexican economic growth. Furthermore, it is found that significant contagion risk effect FDI inflows positively in China, Indonesia, Colombia, and Morocco, where fire-sale transactions may occur during the crisis period, the initial short-term capital outflows and sell-offs of foreign portfolios during the crisis would then lead to an inward flow of foreign direct investment due to the reform of the foreign investment policy of the local government. The abolishment of old policies which deter FDI, and the desperation for cash by local firms, will encouraged FDI inflows. Moreover, these countries exhibit special characteristic that produce this effect. China sustained its economy during the crisis through stimulus package maintaining its attractiveness. Indonesia has low share of manufactures in its total exports, of inter-regional trade in total trade, and of export-led growth, mitigating its exposure to the crisis and hastening the recovery process. Colombia's rise in FDI inflows was fueled mainly by commodity prices which remained high throughout the crisis. Morocco registered its highest peak in FDI capital investments during the crisis, due to a combination of factors of economic reforms, the infrastructure quality, and strong commercial relations with its neighbors. Conversely, significant contagion risk effect FDI inflows negatively in the Philippines, Bulgaria, and South Africa, where the financial crisis lessens FDI inflows as the macroeconomic performance became more uncertain. Both the owners of firms in developing countries and the potential foreign buyers in developed countries will have been affected by the severe liquidity constraints. Thus, it is expected that fire sale FDI may not be observed if the main source countries have been involved in the financial crisis. Similar to the above, these countries contain characteristic that produce this effect. The Philippines' constitution limits foreign investment, threat of terrorism, and political instability resulted in investor avoiding risk. Bulgarian is strongly dependent on export earnings and foreign investment, has weak competitiveness on international markets, is absent of protection mechanisms, and has a high degree of energy intensity of production, Thus, it is then impossible to allocated funds for production. South Africa is more exposed to the commodity price cycle than others. Increased scarcity of financial resources from the crisis is then conductive to apartheid and social class problem, leading to social unrest. The policy implication for both type of developing countries should then reflect their unique circumstance. In case of countries with positive growth of FDI inflows during crisis, they should strengthen their environment climate and macroeconomic performance to engage with large capital inflows from shifting of market sentiment during crisis period and ensure the political environment in order to make more favorable environment for foreign investors. In contrast, for countries that contagion has discouraged FDI inflows, public investment programs and bilateral / regional investment agreements can help encourage foreign investment, retaining existing foreign investment can be done through international coordination, and capital account liberalization can be applied to isolate the domestic economy from the volatility of global financial cycles. This study demonstrates the usefulness of the copulas model in terms of examining contagion. The findings shed light on the influence of sound policies and regulations to cope with both positive and negative consequences of the contagion on the capital movement. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | A Study on the U.S. contagion effects on foreign direct investment flows in developing countries | en_US |
dc.title.alternative | การศึกษาผลกระทบของการลุกลามทางเศรษฐกิจของประเทศสหรัฐอเมริกาต่อการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในประเทศกำลังพัฒนา | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.lcsh | United States -- Economic conditions | - |
thailis.controlvocab.lcsh | United States -- International trade | - |
thailis.controlvocab.lcsh | United States -- Foreign relations | - |
thailis.controlvocab.mesh | Investments -- United States | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การลุกลามของวิกฤตการณ์ทางการเงินเป็นหนึ่งในหัวข้อที่มีการศึกษาวิจัยและเป็นโจทย์ปัญหาใหญ่ในการศึกษาทางเศรษฐศาสดร์ในยุคหลัง โดยเฉพาะในเรื่องของทำไมเฉพาะบางวิกฤตการณ์ถึงมีผลลุกลาม และทำไมการลุกลามจึงมีผลต่อเฉพาะประเทศกำลังพัฒนาบางประเทศเท่านั้น การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะวัดความสัมพันธ์ในส่วนหางด้านล่างกับความเสี่ยงลุกลามจากเศรษฐกิจประเทศสหรัฐอเมริกา สูประเทศกำลังพัฒนา 18 ประเทศ แบ่งเป็น ทวีปเอเชีย ได้แก่ จีน อินเดีย ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปนส์ ทวีปอเมริกาเหนือ-ใต้ ได้แก่ บราซิล อาเจนตินา เม็กซิโก ชิลี โคลัมเบีย ทวีปยุโรป ได้แก่ รัสเซีย โปแลนด์ ฮังการี บัลแกเรีย โรมาเนีย และทวีปแอฟริกา ได้แก่อียิปต์ โมรอคโค และ แอฟริกาใต้ ที่มีผลต่อมูลค่าเงินลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้า โดยการใช้ชุดข้อมูลอนุกรมเวลาตั้งแต่ ค.ศ. 2005 ถึง 2019 ในขั้นแรกนั้น การศึกษานี้ใช้ Dynamic Copula Models 4 รูปแบบ คือ Student-t, Clayton, Rotated Survival Gumbel, Rotated Survival Joe เพื่อที่จะวัดโครงสร้างความสัมพันธ์ส่วนหางระหว่างสหรัฐอเมริกา กับข้อมูลอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของแต่ละประเทศ ในขั้นที่สองนั้น ใช้แบบจำลองการวิเคราะห์ถดถอย เพื่อวัดค่าผลกระทบลุกลามต่อมูลค่าเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้า ผลเชิงประจักษ์แสดงให้เห็นว่า มีหลักฐานของความสัมพันธ์ในส่วนหางสหรัฐอเมริกากับเศรษฐกิจของประเทศกำลังพัฒนาที่บ่งขี้ถึงผลกระทบการถุกลามของวิกฤตการณ์ทางการเงิน ที่สำคัญนั้น สามารถสังเกตพบถึงความรุนแรงของผลกระทบการลุกลามของวิกฤตการณ์ทางการเงินที่แตกต่างไปในแต่ละประเทศ โดยพบผลกระทบอย่างรุนแรงในการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ จีน แอฟริกาใต้ รัสเชีย โคลัมเบีย และเม็กซิโก นอกจากนั้น ยังพบความเสี่ยงลุกลามจากวิกฤตการณ์ทางการเงินที่ส่งผลทางบวกต่อมูลค่าเงินลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้า ในประเทศ จีน โคลัมเบีย และ โมร็อกโก เนื่องจากมีแนวโน้มที่จะเกิดการขายสินทรัพย์ในราคาถูกเมื่อเกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน ดังนั้นเงินทุนไหลออกในระยะสั้นและการขายพอร์ดการลงทุนในช่วงวิกฤตจึงจะถูกแทนที่ด้วยการไหลเข้าของเงินลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศตามการปรับเปลี่ยนนโยบายการลงทุนจากต่างประเทศ โดยรัฐบาลท้องถิ่น ในที่สุดการยกเลิกนโยบายที่กีดกันเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและความต้องการเงินสดของบริษัทท้องถิ่นจะกระตุ้นปริมาณเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้ามา นอกไปจากนั้นประเทศเหล่านี้ยังมีคุณลักษณะพิเศษที่ทำให้เกิดผลลัพธ์ทางบวกดังกล่าว เช่น ประเทศจีนที่คงความสามารถทางเศรษฐกิจผ่านแผนการใช้เงินเพื่อช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจ ประเทศอินโดนีเซียที่มีสินค้าอุตสาหกรรมเป็นสัดส่วนน้อยในตลาดส่งออก, มีสัดส่วนการส่งออกที่น้อยเมื่อเทียบกับตลาดภายในประเทศ, และพึ่งการเติบโตของตลาดส่งออกน้อยเทียบกับมูลค่าการค้าทั้งหมด จึงลดความรุนแรงของผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางการเงินและฟื้นฟูเศรษฐกิจกลับมาได้อย่างรวดเร็วเมื่อเปรียบเทียบกับประเทสอื่นในภูมิภาคเดียวกัน ประเทศโคลัมเบียที่การติบโตของเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้าถูกดึงดูดค้วยราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ปรับตัวสูงขึ้นตลอดระยะการเกิดวิกฤตการณ์ และประเทศโมร็อกโคที่มีเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้าสูงสุดเกิดขึ้นในช่วงวิกฤตการณ์ทางการเงินอันเป็นผลจากปัจจัยหลายภาคส่วนเช่น การการปฏิรูปนโยบายเศรษฐกิจ, คุณภาพของโครงสร้างพื้นฐาน, และความสัมพันธ์ทางการค้าที่เหนียวแน่นกับประเทศเพื่อนบ้าน ในทางกลับกันนั้นการลุกลามของวิกฤตการณ์ทางการเงินกลับส่งผลทางลบต่อประเทศ ฟิลิปปินส์ บัลแกเรีย และแอฟริกาใต้ ที่ซึ่งวิกฤตการณ์ทางการเงินส่งผลทางลบต่อมูลค่าเงินลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศมีความไม่แน่นอนส่งผลให้เจ้าของกิจการในประเทศกำลังพัฒนาและผู้ลงทุนในประเทศพัฒนาแล้วได้รับผลกระทบจากปัญหาข้อจำกัดทางด้านสภาพคล่อง ดังนั้นเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่เกิดการขายสินทรัพย์ในราคาถูกก็อาจจะไม่เกิดขึ้นเมื่อประเทศด้นทางถูก ผลกระทบจากวิกฤตการณ์ทางการเงิน ประเทศดังกล่าวต่อไปนี้ยังมีลักษณะพิเศษที่ส่งให้เกิดผลทางลบ เช่น ประเทศฟิลิปปินส์ที่มีนโยบายจำกัดการลงทุนจากต่างประเทศ, มีปัญหาการก่อการร้าย, และมีความไม่แน่นอนทางการเมืองก็จะทำให้นักลงทุนหลีกเสี่ยงความเสี่ยง ประเทศบัลแกเรียพึ่งพิงการส่งออกและการลงทุนจากต่างประเทศเป็นสัดส่วนที่สูง, มีความสามารถทางการแข่งขันต่ำ,ขาคกลไกการป้องกันเศรษฐกิจ, และมีความต้องการ ใช้พลังงานในภาคการผลิตสูง ส่งผลให้การจัดสรรเงินทุนในการผลิตนั้นเป็นไปไม่ได้เลยในสภาพที่เกิดวิกฤตการณ์ทางการเงิน ประเทศแอฟริกาใต้ที่มีความเสี่ยงจากปัจจัยของกลไกราคาสินค้าโภคภัณฑ์ ทำให้การคลาดแคลนเงินทุนจากวิกฤตจึงนำไปสู่ปัญหาความไม่สงบทางสังคมขึ้น ในส่วนของการกำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจสำหรับประเทศกำลังพัฒนาทั้งสองประเภทควรสะท้อนถึงสถานการณ์เฉพาะของประเทศเหล่านั้น ในกรณีของประเทศที่มีการเติบโตของเงินลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ไหลเข้าในช่วงวิกฤตนั้น ควรเสริมสร้างสภาพแวดล้อมและศักยภาพทางเศรษฐกิจมหาภาค เพื่อดึงดูดเงินทุนไหลเข้าจำนวนมากที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเชื่อมั่นของตลาดในช่วงวิกฤต ตลอดจนสร้างเสถียรภาพทางการเมืองเพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างประเทศ ในทางกลับกัน สำหรับประเทศที่เงินลงทุน โดยตรงจากต่างประเทศไหลเข้าลดลง แผนการการลงทุน จากภาครัฐและข้อตกลงการลงทุนระดับทวิภาคีภูมิภาคจะสามารถช่วยส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศในขณะที่การรักษาการลงทุนจากต่างประเทศที่มือยู่สามารถทำได้ผ่านการประสานความรวมมือระหว่างประเทศ และการเปิดเสรีบัญชีทุนเพื่อที่จะสามารถแยกเศรษฐกิจภายในประเทศออกจากความผันผวนของวัฏจักรการเงินโลกได้ การศึกษานี้พิสูจน์ให้เห็นถึงประโยชน์ของ Copulas Model ในการวิเคราะห์การลุกลามของวิกฤตการณ์ทางการเงิน ตลอดจนแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของอิทธิพลจากนโยบายทางเศรษฐกิงที่เหมาะสมในการรองรับผลกระทบทั้งทางบวกและลบของการลุกลามของวิกฤตการณ์ทางการเงินต่อการเคลื่อนย้ายเงินทุน | en_US |
Appears in Collections: | ECON: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
621635904 อิศราวดี เหมะ.pdf | 1.49 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.