Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73793
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorพีรญา ปรีดาสุวรรณen_US
dc.date.accessioned2022-08-07T04:14:57Z-
dc.date.available2022-08-07T04:14:57Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73793-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to find out the relationship between perceived image, satisfaction and the intention to revisit of Thai customers towards the Nara Hypermart, Nan province. The study is a quantitative research. Quota sampling was used according to the visited time period. Sample collected by using questionnaires for 400 samples. The data were analyzed using descriptive statistics composed of frequency, percentage, mean, and standard deviation and inferential statistics which was multiple regression analysis. The results of the study indicated that most of the sample group was female, aged 31-40 years and level of education were at the bachelor degree. Most of them were government officers, civil servants, and state enterprise employees. Most of them had their average monthly income is less than or equal to 10,000 Baht. Most of the customers usually bought consumer products such as toothpaste, detergent, and toilet cleaner. The average expense per visit was 301 - 600 Baht and the frequency of used was 1 - 3 times per month. They mostly used the service alone and got to Nara Hypermart by motorcycles. In addition, they did not use the state welfare card when purchasing products. The result were found that perceived image of Nara Hypermart, Nan Province was related to the satisfaction = 0.673 and could be explained the variation satisfaction 45.20% (R2 = 0.452) which is consisted of 6 factors: 1) product, 2) merchandising, 3) personnel, 4) service, 5) atmosphere, and 6) promotion. Moreover, the perceived image of Nara Hypermart, Nan Province were related to the intention to revisit = 0.601 and could be explained the intention to revisit variation of 36.10% (R2 = 0.361) which is consists of three factors: 1) product, 2) merchandising, and 3) service. Finally, satisfaction was related to the intention to revisit = 0.645 and could be explained the variation of intention to revisit 41.60% (R2 = 0.416).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ที่รับรู้ ความพึงพอใจและความตั้งใจกลับมาใช้บริการของลูกค้าชาวไทยต่อนราไฮเปอร์มาร์ทจังหวัดน่านen_US
dc.title.alternativeThe relationships between perceived image, satisfaction, and intention to revisit of Thai customers towards Nara Hypermart, Nan provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashต่อนราไฮเปอร์มาร์ท-
thailis.controlvocab.thashร้านค้าสะดวกซื้อ -- น่าน-
thailis.controlvocab.thashร้านค้าปลีก -- น่าน-
thailis.controlvocab.thashร้านขายของชำ -- น่าน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ที่รับรู้ความพึงพอใจ และความตั้งใจกลับมาใช้บริการของลูกค้าชาวไทยต่อนราไฮเปอร์มาร์ทจังหวัดน่าน เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ ใช้การเลือกตัวอย่างแบบ โควตาตามช่วงเวลาในการใช้บริการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากผู้ตอแบบสอบถาม จำนวน 400 ราย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ใช้บริการต่อนราไฮเปอร์มาร์ทจังหวัดน่านส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31 - 40 ปี มากที่สุด การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรีมากที่สุด มีอาชีพข้าราชการ/พนักงานราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจมากที่สุด และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10,000 บาท มากที่สุดส่วนใหญ่ถูกค้าเลือกซื้อสินค้าอุปโภค เช่น ยาสีฟัน ผงซักฟอก น้ำยาล้างห้องน้ำ โดยมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้งที่มาใช้บริการ 301 - 600 บาทมากที่สุด ส่วนใหญ่มีความถี่ในการใช้บริการ 1 - 3 ครั้งต่อเดือนมาใช้บริการมาคนเดียวมากที่สุด เดินทางมาใช้บริการด้วยรถจักรยานยนต์มากที่สุด และส่วนใหญ่ไม่ใช้บัตรสวัสดิการแห่งรัฐเมื่อซื้อสินค้า ผลการศึกษาพบว่าภาพลักษณ์ ที่รับรู้ของต่อนราไฮเปอร์มาร์ทจังหวัดน่านมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจเท่ากับ 0.673 และอธิบายการผันแปรของความพึงพอใจได้ร้อยละ 45.20 (R2 = 0.452) ประกอบด้วย 6 ปัจจัย ได้แก่ 1) ด้านสินค้า 2) ด้านการขายสินค้า 3) ด้านบุคลากร 4) ด้านการบริการ 5)ด้านบรรยากาศ และ 6) ด้านการส่งเสริมการตลาด ภาพลักษณ์ที่รับรู้ของต่อนราไฮเปอร์มาร์ทจังหวัดน่านมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจกลับมาใช้บริการ เท่ากับ 0.601 และอธิบายการผันแปรของความตั้งใจกลับมาใช้บริการได้ร้อยละ 36.10 (R2 = 0.361) ประกอบด้วย 3 ปัจจัย ได้แก่ 1) ด้านสินค้า 2) ด้านการขายสินค้า และ 3) ด้านการบริการ และความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจกลับมาใช้บริการเท่ากับ 0.645 และอธิบายความผันแปรของความตั้งใจกลับมาใช้บริการได้ร้อยละ 41.60 (R2= 0.416)en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532142 พีรญา ปรีดาสุวรรณ.pdf21.34 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.