Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73786
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTharn Thongngok-
dc.contributor.advisorChoocheep Puthaprasert-
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.authorPriyarat Jaineten_US
dc.date.accessioned2022-08-06T10:35:23Z-
dc.date.available2022-08-06T10:35:23Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73786-
dc.description.abstractThis research has 3 objectives: 1) to study the model of integrative Buddhism-Based personnel Administration of the basic schools, 2) to create the model of integrative Buddhism-Based personnel Administration of the basic schools, and 3) to study the results of the use of the Model of integrative Buddhism-Based Personnel of the basic education schools. There are 3 research steps: Step 1, the study of integrative Buddhist personnel management components of the basic education schools from relevant documents and research, and the target group was 7 administrators of Anubarn Chiangmai School, Phutthisopon School, and Ban Ton Phueng School, the research instruments were research questionnaires and structured interviews, synthesized in a table presenting information; Step 2, the creation of an integrated Buddhist personnel management model of basic education institutions, the target audience for the model is the school administrators who were chosen specifically, use of a focus group meeting and critical meetings, consideration and examination of the feasibility of the model by experts; and Step 3, results of the implementation of the Integrated Buddhist Personnel Management Model, the target group was 25 people who were administrators, teachers, parents, school board of Maekhue School. The research tools consisted of a model manual and model evaluation form. Analysis of the data was carried out by using the mean and standard deviation. The results of the research revealed that there were five aspects of human management in general: 1) plan, manpower rate and position placement, 2) recruitment and appointment, 3) enhancement of efficiency in civil service operations, 4) discipline and enforcement, 5) retirement and resignation. In Buddhist administration, the principles of Brahmaviharn 4 and Sangkhahawatthu 4 were applied. The data analysis showed clearly that for "self-control and development", the administrators used the principles of Dana (Giving), Metta (Loving-kindness), Karuna (Compassion), and Upekkha (Equanimity); for " employee morale and happiness", the administrators used Karuna (Compassion), Piyavaca (Kind speech), and Samanattata (Equality); for “work efficiency”, the administrators used Atthacariya (Public Service Mind). Therefore, by summarizing the characteristics of the integrated Buddhist personnel management model of the basic educational institutions, there are 4 main components: 1) Objectives, 2) Principles, 3) Management processes, and 4) Management results. The research results also discovered five common points of the Buddhist concept that school administrators practice: Cooperation, Coherence, Knowledge and Practice.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleThe Model of integrative buddhism based personnel administration of the basic education schoolsen_US
dc.title.alternativeรูปแบบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashAnubarn Chiangmai School-
thailis.controlvocab.thashPersonnel management -- Chiangmai-
thailis.controlvocab.thashBasic education -- Chiangmai-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารงานบุคคล เชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 3) เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน มีขั้นตอนการวิจัย 3 ขั้นตอนคือขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมายคือผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลเชียงใหม่ โรงเรียนพุทธโศภนโรงเรียนบ้านต้นผึ้ง ที่คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามเพื่อการวิจัยและการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สังเคราะห์เป็นตารางเสนอข้อมูล ขั้นตอนที่ 2 การสร้างรูปแบบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มเป้าหมายยกร่างรูปแบบคือผู้บริหารโรงเรียนที่เลือกแบบเจาะจง ใช้การประชุมสนทนากลุ่ม และการประชุมวิพากษ์ พิจารณาตรวจสอบความเหมาะสมความเป็นไปได้ ความมีประโยชน์ของรูปแบบโดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ ขั้นตอนที่ 3 ผลการนำรูปแบบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการไปใช้ กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนแม่คือวิทยา จำนวน 25 คน เครื่องมือที่ใช้คือคู่มือการใช้รูปแบบและแบบประเมินผลการใช้รูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช่ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่าองค์ประกอบการบริหารงานบุคคลโดยทั่วไปมีอยู่ 5 ด้านคือ 1) แผนอัตรากำลังและการกำหนดตำแหน่ง 2) การสรรหาและการบรรจุแต่งตั้ง 3) การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการ 4) วินัยและการรักษาวินัย 5) การออกจากราชการ ในการบริหารเชิงพุทธ ประยุกต์เอากระบวนธรรมหมวดพรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 ข้อมูลชี้ชัด “การครองตน” ผู้บริหารใช้หลักธรรมข้อทาน เมตตา กรุณา และอุเบกขา “การครองคน”ใช้กรุณา มุทิตา ปิยวาจา และสมานัตตตา “การครองงาน” ใช้ อัตถจริยา โดยสรุปลักษณะของรูปแบบการบริหารงานบุคคลเชิงพุทธบูรณาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงมีองค์ประกอบหลัก 4 ประการคือ 1) วัตถุประสงค์ 2) หลักการ 3) กระบวนการบริหาร 4) ผลลัพธ์การบริหาร งานวิจัยยังค้นพบจุดร่วมแนวคิดเชิงพุทธบูรณาการ 5 อย่างที่ผู้บริหารโรงเรียนปฏิบัติ คือ การประสาน ความร่วมมือ ความสอดคล้อง ความรู้ และการปฏิบัติen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580251004 ปรียารัตน์ ใจเนตร.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.