Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจารุณี ทิพยมณฑล-
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorลลิตตา ภักดีวานิชen_US
dc.date.accessioned2022-08-06T03:54:46Z-
dc.date.available2022-08-06T03:54:46Z-
dc.date.issued2022-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73773-
dc.description.abstractThe purposes of using the TPACK Model in Language Education to develop English speaking communication skills among Secondary 1 students of Watbanma School were 1) to study TPACK Model in Language Education to enhance the English speaking communication skills of secondary students in digital disruption era. 2) to study the English speaking skills of students after using TPACK Model in Language Education. The samples were 8 students in Secondary I on the second semester of the academic year 2021. The research instruments consisted of 1) TPACK Model in Language Education lesson plans for 4 units 20 periods, 2) English speaking test, 3) students assessment form for oral presentation and multimedia presentation, and 4) students assessment form for group working. After finished study all 4 unit plans the data's were analyzed by using means and percentage. The research findings found that 1) The study of TPACK Model in Language Education lesson plans to develop English speaking communication skills consisted of the unit topic: Iron Chef Watbanma School included of 4 unit plans were Unit 1: In the kitchen. Unit 2: In the garden. Unit 3: I can cook. Unit 4: Create my own dish. with 5 teaching stages (PRCPR Model)1) Plan 2) Research 3) Collaboration 4) Reflection 5) Public Presentation. The IOC was at 1.0, the quality of the lesson plans was in a very good level. 2) The results of post-test of English speaking skill showed the average score of 78.50%. More than 60 percentages of students were reached in English learning achievement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleรูปแบบความรู้เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีทางภาษาศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษายุคพลิกผันดิจิทัลen_US
dc.title.alternativeTechnological pedagogical and content knowledge model in language education to develop english speaking communication skills of secondary students in digital disruption eraen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)-
thailis.controlvocab.thashภาษาอังกฤษ -- การพูด-
thailis.controlvocab.thashผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน-
thailis.controlvocab.thashกิจกรรมการเรียนการสอน-
thailis.controlvocab.thashเทคโนโลยีทางการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบความรู้เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีทางภาษาศึกษา พัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษายุคดิจิทัล และ2) ศึกษาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนมัธยมศึกษายุคคิจิทัล หลังการใช้การใช้รูปแบบความรู้เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีทางภาษาศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดบ้านม้า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน จำนวน 8 คน ที่เรียนวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม (อ21202) ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบความรู้เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีทางภาษาศึกษา จำนวน 4 แผน 20 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบทักษะการพูดภาษาอังกฤษ 3) แบบทดสอบทักษะการพูดนำเสนอและการพูดนำเสนอผ่านสื่อมัลติมีเดีย และ 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษารูปแบบความรู้เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีทางภาษศึกษาพัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ ได้หน่วยการสอบหัวข้อ Iron Chef Watibanma School ซึ่งประกอบด้วย 4 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยที่ 1: In the kitchen. หน่วยที่ 2: In the garden.หน่วยที่ 3: I can cook. และหน่วยที่ 4: Create my own dish. และเกิดกระบวนการสอน 5 ขั้นตอน (PRCPR Model) คือ 1) ขั้นวางแผน 2) ขั้นค้นคว้า 3) ขั้นทำงานรวมพลัง 4) ขั้นสะท้อนผล 5) ขั้นนำเสนอผลงาน โดยมีค่าความสอดคล้องเท่ากับ 1.0 อยู่ในระดับดีมาก 2) ผลการวัดทักษะการพูดภาษาอังกฤษด้วยการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบความรู้เนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีทางภาษา พบว่านักเรียนมีการพัฒนาทักษะการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษ คิดเป็นร้อยละ 78.50 มีการพัฒนาสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 ที่กำหนดไว้en_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.