Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73768
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ก้องภู นิมานันท์ | - |
dc.contributor.author | อาทิตย์ จอมใจป้อ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-08-05T10:30:49Z | - |
dc.date.available | 2022-08-05T10:30:49Z | - |
dc.date.issued | 2022-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73768 | - |
dc.description.abstract | The objective of this research was to investigate how to increase the productivity in the house construction of Chaya Construction Limited Partnership by finding the causes of the problem by interviewing managers, full-time employees, sub-contractors and those involved in the construction, a total of 28 people. The data were collected from observing actual working conditions using interview logs, observation check sheet, and productivity measurement record forms. The study of the working condition (before improvement) was conducted by preparing the workflow as a Flow Chart in Time Function Mapping and making a Gantt chart to learn the steps and duration of all activities. Labor productivity was then measured using three measurement methods: Field Ratings, Productivity Ratings, and Five Minute Ratings. The collected data were analyzed by categorizing the data to identify problems and using Pareto charts to identify critical issues. The root causes of the problem were then analyzed using Fishbone diagrams. The PDCA principles were implemented to plan the productivity improvements by analyzing the process values. The process was improved using ECRS techniques. After the improvement of the process, the data were used to compare the productivity before and after the operation improvement. The results were reported in percentages and the amount of time reduced. The results of the study found that the construction of a single-story steel structure house, before the process improvement, had 1 7 main activities, 47 sub-activities, taking a total construction period of 133 days (some activities were performed simultaneously). The workflow was shown as a Flow Chart in Time Function Mapping and Gantt chart to show the duration and relationship of sub-activities. The productivity of the 17 main activities was then measured by Field Ratings, Productivity Ratings, and Five Minute Ratings. According to the interviews and the observations, it was able to analyze problems that resulted in low productivity and high construction costs. By using the Pareto chart, it revealed the critical issues that urgently needed to be solved, namely, unclear plans, irresponsible workers, broken equipment, insufficient tools, inadequate work skills, and redundant work processes. The root causes of the problem were then examined using Fishbone charts. In problem solving planning, the construction drawings and details were studied. The construction operation improvement were planned by analyzing the value of activities, using management principles to increase productivity, and employing techniques that focus on work, people, technology, products, and materials. 5R Framework was also used to help increase productivity. To improve the process, ECRS and Time Function Mapping methods were applied, and the Gantt chart was created. Moreover, the workforce planning, employee management, time and material planning, Partner-oriented concept planning, and construction material management were done. In the construction of the second house, after the improved operation plan, there were fewer problems. The construction activities were reduced from 17 main activities and 47 sub-activities to 17 main activities and 42 sub-activities, thus the construction time reduced from 133 days to 116 days. It was found that there was an increase in productivity, which in each activity took less time to operate. These results are in accordance with the objectives which are to study the problems in the house construction and to study how to increase the productivity in the construction, leading to less construction time and increased workforce productivity. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.subject | การเพิ่มผลิตภาพ | en_US |
dc.subject | การก่อสร้างบ้าน | en_US |
dc.subject | ห้างหุ้นส่วนจำกัด ชญา คอนสตรัคชั่น | en_US |
dc.title | การเพิ่มผลิตภาพในการก่อสร้างบ้านของห้างหุ้นส่วนจำกัด ชญา คอนสตรัคชั่น | en_US |
dc.title.alternative | Productivity improvement of house construction of Chaya Construction Limited Partnership | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | การสร้างบ้าน | - |
thailis.controlvocab.thash | ที่อยู่อาศัย -- การออกแบบและการสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | การก่อสร้าง | - |
thailis.controlvocab.thash | การควบคุมกระบวนการผลิต | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการเพิ่มผลิตภาพในการก่อสร้างบ้านของห้างหุ้นส่วนจำกัด ชญา คอนสตรัคชั่น โดยหาสาเหตุของปัญหาจากการสัมภาษณ์ผู้จัดการ พนักงานประจำ ผู้รับเหมาช่วง และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการก่อสร้างบ้าน จำนวน 28 ราย และเก็บข้อมูลจากการสังเกตสภาพการทำงานจริง มีการใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบบันทึกการสัมภาษณ์แบบบันทึกการสังเกตแบบ Check Sheet และแบบบันทึกการวัดผลิตภาพ การศึกษาเริ่มต้นจากการศึกษาสภาพปัจจุบัน (ก่อนปรับปรุง) โดยการจัดทำขั้นตอนการทำงานเป็น Flow Chart แบบ Time Function Mapping และได้ทำ Gant Chart เพื่อให้ทราบขั้นตอนและระยะเวลาของกิจกรรมทั้งหมด จากนั้นทำการวัดค่าผลิตภาพแรงงาน โดยใช้วิธีการวัด 3 วิธี คือ วิธี Field Ratings, วิธี Productivity Ratings และวิธี Five minute Rating: ซึ่งข้อมูลที่รวบรามได้ทั้งหมด จะนำมาทำการวิเกราะห์เนื้อหา โดยจัดกลุ่มข้อมูลเพื่อหาปัญหาที่เกิดขึ้นและใช้แผนภูมิพาเรโต เพื่อวิเคราะห์หาปัญหาที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไข จากนั้นวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงด้วยการใช้แผนภูมิก้างปลา จากนั้นดำเนินการตามหลักการ PDCA ทำการวางแผนปรับปรุงแก้ไข โดยการวิเคราะห์คุณค่ากระบวนการ และปรับปรุงกระบวนการด้วย ECRS หลังจากการปรับปรุงกระบวนการผลิตแล้ว นำข้อมูลที่ได้มาทำการเปรียบเทียบผลิตภาพก่อนและหลังการปรับปรุงการดำเนินงาน โดยรายงานผลเป็นร้อยละและจำนวนเวลาที่ลดลง ผลการศึกษาสภาพปัจุบัน (ก่อนการปรับปรุง พบว่า การดำเนินการก่อสร้างบ้านพักอาศัย คสล.1 ชั้น (ก่อนการปรับปรุง มีขั้นตอนในการก่อสร้าง 17 กิจกรรมหลัก 47 กิจกรรมย่อย ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างทั้งสิ้น 133 วัน (โดยกิจกรรมบางอย่างสามารถดำเนินการพร้อมกันได้ โดยแสดงขั้นตอนการทำงานเป็น Flow Chart แบบ Time Function Mapping และ Gant Chat เพื่อทำให้มองเห็นช่วงเวลาและ ความสัมพันธ์ของกิจกรรมย่อย จากนั้นทำการวัดค่าผลิตภาพทั้ง 17 กิจกรรม โดยวิธี Field Ratings วิธี Productivity Ratings และวิธี Five minute Ratings จากการศึกษาโดยรวบรวมการสัมภาษณ์และการสังเกตสภาพหน้างานจริง สามารถวิเคราะห์ หาปัญหาที่ส่งผลกระทบให้ค่าผลิตภาพต่ำและทำให้ต้นทุนการก่อสร้างสูง โดยใช้แผนภูมิพาเรโต ทำให้เห็นปัญหาที่มีความสำคัญและมีความจำเป็นเร่งด่วนในการแก้ไข ได้แก่ 1. แผนงานไม่ชัดเจน 2.พนักงานขาดความรับผิดชอบ 3.อุปกรณ์เครื่องมือชำรุดเสียหาย 4.วัตถุดิบไม่เพียงพอต่อการใช้งาน 5.ช่างขาดความชำนาญในการทำงาน และ 6.กระบวนการทำงานซ้ำช้อน จากนั้นวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาที่แท้จริงด้วยการใช้แผนภูมิก้างปลา การวางแผนการแก้ไขปัญหาได้มีการศึกษาแบบแปลนและรายละเอียดการก่อสร้าง วางแผนปรับปรุงการดำเนินการก่อสร้าง โดยการวิเคราะห์คุณค่าของกิจกรรม ใช้หลักการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มผลิตภาพ ใช้เทคนิคการเพิ่มผลิตภาพแบบเน้นงาน เน้นคน เน้นเทคโนโลยี เน้นผลิตภัณฑ์ เน้นวัสดุ ใช้หลักการบริหารจัดการ โดยหลักการความถูกต้อง 5 ประการ (SR) ใช้หลักการปรับปรุงกระบวนการ ECRS กระบวนการ Time Function Mapping จัดทำแผนกำหนดเวลา Gant Chart วางแผนการใช้แรงงาน วางแผนการจัดการพนักงาน โดยทำการคัดเลือกและฝึกอบรมพนักงาน วางแผนการใช้วัสดุแบบทันเวลาและ ใช้แนวคิด Partner วางแผนการจัดการด้านอุปกรณ์เครื่องมือ หลังจากการดำเนินการก่อสร้างบ้านหลังที่ 2 ตามแผนการปรับปรุง ได้มีการตรวจสอบผลการดำเนินการ พบว่าหลังจากการปรับปรุง เกิดปัญหาที่น้อยลง โดยสามารถลดกิจกรรมในการก่อสร้างได้จาก 17 กิจกรรมหลัก 47 กิจกรรมย่อย เหลือ 17 กิจกรรมหลัก 42 กิจกรรมย่อย ทำให้ระยะเวลาในการก่อสร้างลดลงจาก 133 วัน เหลือ 116 วัน เมื่อตรวจสอบค่าผลิตภาพในแต่ละกิจกรรม พบว่า มีค่าผลิตภาพที่เพิ่มขึ้น ซึ่งในแต่ละกิจกรรมใช้เวลาในการดำเนินงานที่น้อยลง เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ คือ ศึกษาปัญหาในการดำเนินงานก่อสร้างบ้านและศึกษาวิธีการเพิ่มผลิตภาพในการก่อสร้างบ้าน ส่งผลให้ระยะเวลาในการก่อสร้างน้อยลงและมีผลิตภาพที่เพิ่มขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Final-อาทิตย์ จอมใจป้อ 601532081.pdf | 9.95 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.