Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73762
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยพรรณ กลั่นกลิ่น-
dc.contributor.authorจันทมณี คัมภีระen_US
dc.date.accessioned2022-08-04T10:49:42Z-
dc.date.available2022-08-04T10:49:42Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73762-
dc.description.abstractThis independent study the relationship between perceived image, satisfaction, and intention to revisit of Thai customers towards Jampha Savemart in Chiang Mai Province. The questionnaire was used as a tool to collect the data from 390 customers by using a quota sampling method, divided into 6 branches which are Saraphi, San Pa Tong, Hangdong, Doi Saket, Chiang Mai University, and Mae Jo University. The preliminary data were analyzed by using descriptive statistics that consist of frequency, percentage, mean, standard deviation and inferential statistics by using multiple regression analysis. The results of the study showed that most of the customers were female and aged 31 to 40 years. Their highest educational background was at high school/vocational certificate level. They work as employees and their monthly income is 10,001 - 15,000 Baht. Besides, the vehicle was used to visit the store is the motorcycle. In terms of customers’ behavior, they bought general consumer product such as oil, sauces and instant food. Their average spending were 301 - 600 Baht per visit. They came to bought consumer products alone for 1 - 3 times a month at 4:01 - 8.00 P.M. Moreover, the results showed that the perceived image was related to customers’ satisfaction with Jampha Savemart in Chiang Mai = 0.780, which could be explained the variation of customer satisfaction 60.80% which consisted of four factors: product aspect, service, merchandising, and price. In addition, perceived image was related to intention to revisit of Thai customers = 0.739 so, it could be explained the variation to revisit of the Thai customers 54.60% that consisted of 7 factors: product aspect, service, atmosphere, location, promotion, product sales, and price. Furthermore, the customers’ satisfaction also was related to intention to revisit of the Thai customers = 0.564 so, it could be explained the variation to revisit of the Thai customers as 31.90%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาพลักษณ์ตามการรับรู้ ความพึงพอใจ และความตั้งใจใช้บริการซ้ำของลูกค้าชาวไทยต่อร้านแจ่มฟ้าเซฟมาร์ทในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeRelationship Between Perceived Image, Satisfaction, and Intention to Revisit of Thai Customers Towards Jampha Savemart in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashแจ่มฟ้าเซฟมาร์ท-
thailis.controlvocab.thashร้านค้าสะดวกซื้อ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashความพอใจของผู้ใช้บริการ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาพลักษณ์ ความพึงพอใจ และความตั้งใจใช้บริการซ้ำของลูกค้าชาวไทยต่อร้านแจ่มฟ้าเซฟมาร์ทในจังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคที่มาใช้บริการร้านแจ่มฟ้าเซฟมาร์ทในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 390 ราย ใช้วิธีคัดเลือกตัวอย่างแบบโควตาโดยแบ่งตามสาขา 6 สาขา ได้แก่ สารภี สันป่าตอง หางดง ดอยสะเก็ด หลังมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และหน้ามหาวิทยาลัยแม่โจ้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมานใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression) ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. ประกอบอาชีพรับจ้าง มีรายได้ต่อเดือน 10,001-15,000 บาท เดินทางมาที่ร้านแจ่มฟ้าเซฟมาร์ทโดยรถจักรยานยนต์ ด้านพฤติกรรมการใช้บริการคือซื้อของใช้ทั่วไปประเภท น้ำมัน ซอส อาหารสำเร็จรูป และส่วนใหญ่ใช้บัตรสวัสดิการของรัฐ มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง 301-600 บาทโดยมาซื้อสินค้าคนเดียว 1-3 ครั้งต่อเดือนในเวลา 16.01-20.00 น. เป็นส่วนใหญ่ การรับรู้ภาพลักษณ์มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจของลูกค้าชาวไทยต่อร้านแจ่มฟ้าเซฟมาร์ทในจังหวัดเชียงใหม่เท่ากับ0.780 ซึ่งสามารถอธิบายการผันแปรของความพึงพอใจได้ร้อยละ 60.80 ประกอบไปด้วย 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) ด้านสินค้า 2) ด้านบริการ 3) ด้านการขายสินค้า และ4) ด้านราคา การรับรู้ภาพลักษณ์ที่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการซ้ำของลูกค้าชาวไทยต่อร้านแจ่มฟ้า เซฟมาร์ทในจังหวัดเชียงใหม่เท่ากับ 0.739 ซึ่งสามารถอธิบายการผันแปรของความตั้งใจใช้บริการซ้ำได้ร้อยละ 54.60 ประกอบไปด้วย 7 ปัจจัย ได้แก่ 1) ด้านสินค้า 2) ด้านบริการ 3) ด้านบรรยากาศ 4) ด้านสถานที่ตั้ง 5) ด้านการส่งเสริมการขาย 6) ด้านการขายสินค้า และ 7) ด้านราคา และ ความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับความตั้งใจใช้บริการซ้าของลูกค้าชาวไทยต่อร้านแจ่มฟ้าเซฟมาร์ทเท่ากับ 0.564 ซึ่งสามารถอธิบายการผันแปรของความตั้งใจใช้บริการซ้ำได้ร้อยละ 31.90en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532210 จันทมณี คัมภีระ.pdf2.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.