Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73746
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Ariya Svetamra | - |
dc.contributor.advisor | Wannapa Leerasiri | - |
dc.contributor.author | Chitsanupong Nithiwana | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-31T04:18:38Z | - |
dc.date.available | 2022-07-31T04:18:38Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73746 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to demonstrate the doing and undoing gender under heterosexual discourse of Kathoei in the different contexts and the challenges of Kathoei to heterosexual discourse in terms of mismatches of sex, gender, and sexuality. Doing gender demonstrated that gender was done as an interaction in a wide variety of activities (West and Zimmerman, 1984). Undoing gender focused on gender that derived from the performativity or the countless numbers of performances (Butler, 2004). Both concepts emphasized the same structure of heterosexual discourse dictating the gender performance. Butler pointed out that a gender trouble had a way of moving beyond that naturalized binary of the discourse (Butler, 2004). Additionally, Thailand has its unique terms, Phet that includes sex, gender, and sexuality within a single term (Jackson & Sullivan, 1999). Kalatesa is a local concept of balancing to appropriateness under the conditions of time and space, and highlights regional, ethnic and class differences as well as gender (Van Esterik, 2000). To understand Kathoei’s gender performances and their challenges to the discourse, queer theory was used to analyze the challenge by the mismatches between sex, gender, and sexuality (Jagose, 1996). The qualitative methods including in-depth interview and participation observation were applied to understand Kathoei’s gender performance in different aspects of their life cycle. According to the findings, Kathoei could acknowledge gender inequality from the discourse. Then, they dynamically used their identity to challenge the discourse intentionally and unintentionally in each context. Second, Kathoei who had the mismatches did not only challenge Thai society, but they also needed to neutralize the challenge from multiple LGBTQ+ groups within Thai society. Lastly, the diversity of Kathoei was not only a challenge to the western sex/gender/sexuality concept, but it resisted to the local concept of Phet. This meant that newly emerged identity Phet, or identifying more than one Phet neutralized a complexity, paradox, and possibility of moving beyond the discourse through the concept of Phet. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Doing and undoing gender of Kathoei under heterosexual discourse | en_US |
dc.title.alternative | กะเทย กับ การกระทำและไม่กระทำการทางเพศภาวะ ภายใต้วาทกรรมรักต่างเพศ | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Intersexuality | - |
thailis.controlvocab.thash | Homosexuality | - |
thailis.controlvocab.thash | Sexual orientation | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษามุ่งเน้นอภิปรายว่าการกระทำการและไม่กระทำการทางเพศของกะเทยภายใต้วาทกรรมรักต่างเพศเป็นอย่างไร ทั้งนี้เพื่อแสดงถึงการท้าทายต่อวาทกรรมเพศรักต่างเพศผ่านการแสดงออกทางเพศของกะเทยที่ไม่ตรงกันระหว่างเพศกำเนิด เพศภาวะ และรสนิยมทางเพศเพื่อการอภิปรายการแสดงทางเพศของกะเทย ผู้ขียนนำแนวคิดการกระทำการทางเพศ Doing Gender อ้างว่าเพศหมายถึงการกระทำการในลักษณะปฏิสัมพันธ์ของปัจเจกบุคคลที่สามารถปรากฏแตกต่างกันไปได้ในแต่ละบริบท (West & Zimmerman, 1984) ต่อมาจูดิธ บัตเลอร์ นำเสนอแนวคิดการไม่กระทำการทางเพศ Undoing Gender อ้างเพศนั้นไม่ได้มีอยู่จริง แต่เกิดจากการกระทำการซ้ำๆ จำนวนนับไม่ถ้วน จนกลายเป็นปกติ (Butler, 1999) ทั้งสองแนวคิดนำเสนอเพศนั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการกระทำการโดยเฉพาะภายใต้โครงสร้างเดียวกันคือวาทกรรมรักต่างเพศ ต่อมาบัตเลอร์นำเสนอแนวทางการหลุดพ้นวาทกรรมรักต่างเพศว่า สามารถทำได้โดยเพศผสมผสาน คนข้ามเพศ คนแต่งข้ามเพศ (Butler, 2004) สำหรับสังคมไทย เพศมีความซับซ้อนที่รวมเพศกำเนิด เพศภาวะ และรสนิยมทางเพศหรือเพศวิถี ไว้ในคำเดียว (Jackson & Sullivan, 1999) นอกจากนี้ยังมี กาละเทศะ หรือความเหมาะสมภายใต้เงื่อนไขของเวลาและสถานที่ ที่จัดระเบียบภูมิภาค เชื้อชาดิ ชนชั้น รวมถึงเพศ (Van Esterik, 2000) ทั้งนี้ เพื่อเข้าใจถึงการต่อสู้ของกะเทยต่อวาทกรรมเพศรักต่างเพศ ผู้เขียนนำแนวกิด Queer Theory ซึ่งอ้างว่าความไม่ตรงกันระหว่าง เพศกำเนิด เพศภาวะ และรสนิยมทางเพศสามารถนำไปสู่การลดทอนและท้าทายการจำกัดของวาทกรรมรักต่างเพศ (Jagosc, 1996) มาใช้ในการวิเคราะห์ จากการศึกษาผ่านระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยเครื่องมือการสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมพบว่า กะเทยสามารถนำเสนอความหลากหลายผ่านการแสดงออกทางเพศที่ไม่สอดคล้องกันระหว่างเพศกำเนิด เพศภาวะ และรสนิยมทางเพศ ในบริบทที่แตกต่างกัน ประการแรกกะเทยสามารถรับรู้ถึงความไม่เป็นธรรมทางเพศจากวาทกรรมรักต่างเพศและนำไปสู่การปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ของตนเองในแต่ละบริบทเพื่อท้าทายต่อวาทกรรมทั้งตั้งใจและไม่ตั้งใจ ต่อมากะเทยไม่ได้ใช้ความไม่สอดคล้องกันระหว่างเพศเพื่อท้าทายวาทกรรมจากสังคมไทยเพียงอย่างเดียวแต่ยังต่อสู้กับความท้าทายจากชุมชน LGBTQ+ ในสังคมไทยอีกด้วย ประการสุดท้าย กะเทยไม่ได้ท้าทายต่อระบบเพศแบบตะวันตก แต่ยังต้องต่อสู้กับระบบเพศแบบไทย ทั้งการนำเสนอเพศใหม่ๆ หรือการนิยามตนมากกว่าหนึ่งเพศ เพื่อที่จะสร้างความชับซ้อน ลักลั่น และความเป็นไปได้ในการนิยามตนเกินจากระบบเพศ ทั้งนี้ เพื่อท้าทายต่อวาทกรรมรักต่างเพศที่มาในรูปแบบของระบบเพศของไทย | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610435902 ชิษณุพงศ์ นิธิวนา.pdf | 5.84 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.