Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73741
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKannika Duangnate-
dc.contributor.advisorJirakom Sirisrisakulchai-
dc.contributor.authorSomrak Choeyramen_US
dc.date.accessioned2022-07-31T03:27:50Z-
dc.date.available2022-07-31T03:27:50Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73741-
dc.description.abstractThis study aims to estimate the government budget for the income guarantee program for oil palm farmers in Thailand 2019/2020, which the government implemented in response to falling oil palm fresh fruit brunch (FFB) prices. The basis of this program is to assure that oil palm farmers will get four baht per kilogram (kg). The difference between four baht per kg and market reference prices, as announced by the sub-program committee, is referred to as a subsidy price. The announced market reference price is average daily sell prices of oil palm FFB at palm oil mills in Surat Thani, Krabi, Chumphon, Pattani, and Chonburi provinces. If there is a tool that allow the government or policy makers to foresee the market price of oil palm, could it help the government to plan on the budget allocation and/or design a proper policy to lessen farmers’ loss? Univariate autoregressive integrated moving average with explanatory variables (ARIMAX) model and vector error correction model (VECM) are used to estimate and forecast oil palm prices. Thailand oil palm FFB outputs, crude palm oil (CPO) prices, demand for biodiesel-based CPO, Malaysia CPO price, and world soybean oil price are considered in this study. Monthly data from January 2015 to September 2019 are used as in-sample data and those from October 2019 to July 2020 are used as out-of-sample data. In estimation of ARIMAX(p,d,q) model, ARIMAX4(2,1,4) model is outperforming others. Thailand oil palm FFB outputs, and domestic demand for biodiesel-based CPO have a negative relationship with Thailand oil palm FFB price. Thailand CPO price, Malaysia CPO price, and world soybean oil price have a positive relationship with Thailand oil palm FFB price. Oil palm prices, Thailand CPO price, Malaysia CPO price, and world soybean oil price are used to estimate of VECM and there is long run equilibrium relationship among them. Empirical results suggest that VECM forecasts oil palm prices better than does the ARIMAX 4(2,1,4) model. Oil palm FFB forecast prices are estimated from VECM model. The more precise oil palm prices forecasted, the more appropriate budget allocation or policies soothing farmers’ loss the government could plan. If the market price of oil palm keeps falling far from four then the government or policymaker can plan to establish a proper policy or improve efficiency in budget. Meanwhile, if the oil palm price forecasted greater than four then no need to establish the income guarantee program. The average actual subsidy price is 0.89 baht per kg, which is greater than the subsidy price calculated by the difference between four-baht target price and oil palm forecast prices, 0.62 baht per kg.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGovernment budgeting of the income guarantee program for oil palm farmers in Thailanden_US
dc.title.alternativeงบประมาณรายจ่ายรัฐบาลของโครงการประกันรายได้สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มนํ้ามันในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashOil palm-
thailis.controlvocab.thashPalm oil-
thailis.controlvocab.thashAgricultural prices-
thailis.controlvocab.thashAgricultural prices -- Government policy-
thailis.controlvocab.thashPricing-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพยากรณ์ราคาผลปาล์มทลาย และประมาณการงบประมาณรายจ่ายรัฐบาลของโครงการประกันรายได้สำหรับเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันในประเทศไทย เนื่องจากปัญหาราคาผลปาล์มทะลายตกต่ำ โครงการจึงกำหนดรายได้ที่เหมาะสมที่เกษตรกรควรได้รับ จากการขายผลปาล์มทะลายที่กิโลกรัมละ 4 บาท และการจะจ่ายเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างอัตตาประกันรายได้กับราคาตลาดอ้างอิงให้แก่เกษตรกร โดยใช้ราคาผลปาล์มทะลายรายวันเฉลี่ยย้อนหลังประมาณ 30 วัน ณ ลานเท และโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม ในพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี กระบี่ ปัตตานี และชลบุรี เพื่อใช้เป็นข้อมูลกำหนคราคาตลาดอ้างอิงที่เท่ากันสำหรับทุกจังหวัดแหล่งผลิต ถ้ามีราคาพยากรณ์ผลปาล์มทะลายที่แม่นยำ รัฐบาลหรือคนออกนโยบายสามารถนำไปใช้ในการแผนงบประมาณของโครงการฯ หรือมีมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกปาล์มน้ำมันที่ขาดทุนในการพยากรณ์ราคาผลปาล์มทะลาย ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ ปริมาณผลปาล์มทะลาย, ราคาน้ำมันปาล์มดิบของไทย, ความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบผลิตเชื้อเพลิงชีวกาพ, ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเชีย, และราคาน้ำมันถั่วเหลืองในตลาดโลก ซึ่งใช้ข้อมูลรายเดือนตั้งแต่มกราคม พ.ศ. 2558 ถึง กันยายน 2562 ในการประมาณค่า และพยากรณ์ราคาปาล์มทะลายในช่วงระหว่าง ตุลาคม 2562 ถึง ธันวาคม 2563 โดยการใช้แบบจะลองอนุกรมเวลา Autoregressive Integrated Moving Average with Explanatory Variable (ARIMAX) และ Vector Error Correction Model (VECM) ผลการศึกษาจากแบบจำลอง ARIMAX4(2,1,4) พบว่า ปริมาณผลปาล์มทะลาย และความต้องการใช้น้ำมันปาล์มดิบผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ มีค่าความสัมพันธ์เชิงลบต่อราคาผลปาล์มทะลาย ราคาน้ำมันปาล์มดิบของไทย, ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซีย, และราคาน้ำมันถั่วเหลืองในตลาดโลก มีค่าความสัมพันธ์เชิงบวกต่อราคาผลปาล์มทะลายในประเทศไทย ผลการศึกษาจากแบบจำลอง VECM พบว่า ราคาผลปาล์มทะลาย, ราคาน้ำมันปาล์มดิบของไทย, ราคาน้ำมันปาล์มดิบของมาเลเซีย และราคาน้ำมันถั่วเหลืองในตลาดโลกมีความสัมพันธ์ระยะยาวต่อกันซึ่งในการเปรียบเทียบความแม่นยำในการพยากรณ์ของทั้งสองแบบจำลอง พบว่า VECM มีความแม่นยำมากกว่าแบบจำลอง ARIMAX4(2,1,4) ราคาพยากรณ์ปาล์มทะลายที่มีความแม่นยำซึ่งได้จากแบบจำลอง VECM สามารถใช้เพื่อประกอบการวางแผนงบประมาณสำหรับโครงการหรือพิจารณาในการดำเนินโครงการฯ โดยหากราคาพยากรณ์ปาล์มทะลายต่ำกว่าอัตตาประกันรายได้ก็สามารถวางแผนงบประมาณสำหรับโครงการหรือวางแผนนโยบายช่วยเหลือเกษตรกรได้ในกรณีที่หากราคาพยากรณ์ปาล์มทะลายสูงกว่าอัตตาประกันรายได้ที่กิโลกรัมละ 4 บาท สามารถพิจารณาที่จะงดจ่ายเงินชดเชยในรอบการจ่ายนั้น ๆ ได้โดยเฉลี่ยรัฐบาลจ่ายเงินชดเชยส่วนต่างระหว่างอัตตาประกันรายได้ที่กิโลกรัมละ 4 บาทกับราคาตลาดอ้างอิงที่ 0.89 บาทต่อกิโลกรัม มากกว่า กรณีเงินชดเชยที่คำนวณจากส่วนต่างระหว่างอัตตาประกันรายได้ที่กิโลกรัมละ 4 บาทกับราคาพยากรณ์ปาล์มทะลายโดยเฉลี่ยที่ 0.62 บาทต่อกิโลกรัมen_US
Appears in Collections:ECON: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601635964 สมรักษ์ เชยรัมย์.pdf2.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.