Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73723
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีรยุทธ ไชยจารุวณิช-
dc.contributor.advisorจักรเมธ บุตรกระจ่าง-
dc.contributor.authorไกรสรวัฒน์ ปัญโญen_US
dc.date.accessioned2022-07-25T10:33:37Z-
dc.date.available2022-07-25T10:33:37Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73723-
dc.description.abstractThis thesis proposcs the Arrival Time Estimation of Electric Bus for Chiang Mai University's Public Transportation System Using Machine Learning Techniques. This rescarch aims to create an arrival time cstimation model for the electric bus service of Chiang Mai University. To achieve that, we have consisted of arrival time estimation model for the electric bus that with 3 methods are 1. Support Vector Regression (SVR) 2. Autoregression (AR) 3. Long Short-Term Memory (LSTM) to capture the regullarities in the data The mode! was trained using machine leaming approach well suited for leamning from real-time dala coming directly from the bus's onboard GPS unit. Experimental results based on real data records of four representative bus lines, spanning over 4 months demonstrated the superiority of the proposed support vector regression compared to the autoregression and the long short-term memory as measured by the Mean Absolute Error (MAE)en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectรถบัสไฟฟ้าen_US
dc.titleการคาดการณ์เวลามาถึงของรถบัสไฟฟ้าสำหรับระบบขนส่งมวลชนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ของเครื่องen_US
dc.title.alternativeArrival time estimation of electric bus for Chiang Mai University's public transportation system using machine learning techniquesen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashการขนส่งมวลชน-
thailis.controlvocab.thashรถไฟฟ้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอการคาดการณ์เวลามาถึงของรถบัสไฟฟ้าสำหรับระบบขนส่งมวลชนของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองการประมาณเวลาเดินทางมาถึงของบริการรถโดยสารไฟฟ้าของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายนั้นเรามีวิธีการประมาณการเวลามาถึงของรถบัสไฟฟ้าประกอบไปด้วย 3 วิธีการ คือ 1. การถดถอยชัพพอร์ตเวกเตอร์ 2. การถดถอยเชิงออโต 3. หน่วยความจำระยะสั้นยาว เพื่อจับความสม่ำเสมอในข้อมูล แบบจำลองนี้ได้รับการฝึกฝนโดยวิธีการเรียนรู้ของเครื่องที่เหมาะสำหรับการเรียนรู้จากข้อมูลแบบเรียลไทม์ที่มาจากหน่วยระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (Global Posioning System : GPS) บนรถบัสโดยตรง ผลจากการทดลองตามบันทึกข้อมูลจริงของการเดินทางรถบัสไฟฟ้าตัวแทนทั้งหมด 4 เส้นทาง ซึ่งทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจริงครอบคลุมระยะเวลามากกว่า 4 เดือน แสดงให้เห็นถึงความสามารถที่เหนือกว่าของแบบจำลองการถดถอยชัพพอร์ตเวกเตอร์ ที่นำเสนอเมื่อเปรียบเทียบกับแบบจำลองการถดถอยอัตตะและแบบจำลองหน่วยความจำระยะสั้นยาว โดยใช้หลักการในการวัดประสิทธิภาพคือค่าเฉลี่ยของค่าสัมบูรณ์ของความคลาดเคลื่อนen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531001 ไกรสรวัฒน์ ปัญโญ.pdf6.28 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.