Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิยตา กาวีวงศ์-
dc.contributor.authorอตินันท์ เจติยาen_US
dc.date.accessioned2022-07-22T11:01:55Z-
dc.date.available2022-07-22T11:01:55Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73704-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to find the impact of economic value added and financial ratios towards market value added of listed companies in SET100 Index. Financial ratios used in this study are Profitability ratios which comprises of (1) return on assets (ROA), (2) return on equity (ROE) and (3) earnings per share (EPS). The samples were companies in the SET100 Index, all annual financial reports for 5 years (from 2014 to 2018) was collected. This research excludes companies in financial industry. Multiple linear regression was employed to analyze the information. The independent variable were profitability ratios and economic value added, the dependent variable was market value added, and the controlled variables were size of firms and financial risks. The results show that economic value added, ROA, and ROE all have a significant impact on the market value added.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบของมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจและอัตราส่วนทางการเงินที่มีผลต่อมูลค่าเพิ่มทางการตลาดของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มดัชนีเซ็ต๑๐๐en_US
dc.title.alternativeImpact of economic value added and financial ratios towards market value added of listed companies in SET100 indexen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashบริษัทมหาชน-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจและอัตราส่วน ทางการเงินที่มีผลต่อมูลค่าเพิ่มทางการตลาดของบริษัทจดทะเบียนในกลุ่มดัชนีเซ็ต ๑๐๐ อัตราส่วน ทางการเงินที่นำมาใช้ ได้แก่ อัตราส่วนทางการเงินด้านความสามารถในการทำกำไร ประกอบด้วย (1) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม (2) อัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น และ (3) กำไร สุทธิต่อหุ้น กลุ่มตัวอย่างคือ บริษัทจดทะเบียนในกลุ่มดัชนีเซ็ต๑๐๐ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทาง การเงินรายปี เป็นระยะเวลา 5 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2557 ถึง พ.ศ.2561 ทั้งนี้ไม่รวมบริษัท ในกลุ่มธุรกิจ การเงิน การศึกษาความสัมพันธ์ใช้วิธีการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Linear Regression Analysis: MLR) ตัวแปรอิสระ ได้แก่ อัตราส่วนทางการเงินด้านความสามารถในการทำ กำไรและมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ ตัวแปรตาม คือ มูลค่าเพิ่มทางการตลาด ตัวแปรควบคุม ได้แก่ ขนาด ของกิจการและความเสี่ยงทางการเงิน ผลการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างพบว่า มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม และอัตราส่วนผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้นมีผลกระทบ และความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับมูลค่าเพิ่มทางการตลาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532114 อตินันท์ เจติยา.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.