Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73678
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิ่มใจ ชิตาพนารักษ์-
dc.contributor.advisorสมศักดิ์ วรรณวิไลรัตน์-
dc.contributor.authorอนุพงษ์ คงสาen_US
dc.date.accessioned2022-07-20T10:37:20Z-
dc.date.available2022-07-20T10:37:20Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73678-
dc.description.abstractIntroduction: A numerous patients of breast cancer is recently increasing. The sophisticated techniques benefit the treatment qualities, but the limitations are raised in term of the treatment preparation steps and time. The three-dimensional radiation therapy is necessarily used to serve these population, but the limitation is the method of the field junction. Various method was proposed to solve this problem, but the limitations are remained. This research aims to propose a new matching method and compare various methods in three-dimensional radiotherapy (3DRT) for left breast post mastectomy radiotherapy (PMRT). Method: The twenty-two CT data sets of left breast PMRT patient were used. Three single isocenter techniques (SIT), with off-axis supraclavicular field (SIToaSPC) method SIT with coplanar field border (SITCFB) method and SIT with half beam block (SITHBB) method, were created. The dosimetric parameters of organ at risk (OARs), lymph node level I-III and region of interest at gap junction (ROIg) were analyze and used to compare plans. The HBB was benchmarked to grant the score of the decision. Result: The results show the SIToaSPC method gave a low dose on the organs at risk (OAR) but ROlg was lower than prescribed dose. The SITCFB and SITHBB methods were shown the same dosimetric results of OARs but the SITHBB method was shown higher volume of the ipsilateral lung that receive 20 Gy than n SIToaSPC method. The decision score of The SITCFB method was higher than the SIToaSPC method and also slightly better than the SITHBB method. Conclusion: The SITCFB method shows benefit of OAR sparing and dose at matching field. The decision score ensures a performance of SITCFB is comparable to the SITHBB method. Furthermore, field size limitation of the SITHBB method was solved.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบรังสีคณิตเทคนิครังสีรักษาสามมิติโดยใช้จุดร่วมเดียวของลำรังสีในผู้ป่วยมะเร็งเต้านมข้างซ้ายที่ได้รับการผ่าตัดทั้งเต้าen_US
dc.title.alternativeDosimetric comparison of three-dimensional radiotherapy technique by using single isocenter in left-sided breast cancer patients after mastectomyen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเต้านม -- มะเร็ง-
thailis.controlvocab.thashเต้านม -- มะเร็ง -- การรักษาด้วยรังสี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบทนำ: ผู้ป่วยมะเร็งเต้านมมีจำนวนเพิ่มสูงขึ้นในปัจุบัน เทคนิครังสีรักษาที่ซับซ้อนจะส่งผลต่อคุณภาพการรักษาที่ดีขึ้น แต่ก็ยังคงมีข้อจำกัดในเรื่องขั้นตอนและเวลาในการวางแผนรังสีรักษาแผนรังสีรักษาสามมิติยังคงความจำเป็นเพื่อรองรับจำนวนคนไข้ที่มากขึ้น แต่ข้อจำกัดคือการกำหนดรอยต่อพื้นที่รังสี ต่อมาได้มีการนำเสนอวิธีการต่างๆ เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวแต่ก็ยังคงมีข้อจำกัดอยู่ง านวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอเทคนิครังสีรักษาสามมิติวิธีใหม่ และเปรียบเทียบกับเทคนิครังสีสามมิติวิธีต่างๆ สำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมข้างซ้ายที่ได้รับการผ่าตัดเต้านมทั้งเต้า วิธีการวิจัย: ใช้ข้อมูลชุดภาพเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ของสู้ปวยมะเร็งเต้านมข้างช้ายที่ได้รับการผ่าตัดเต้านมทั้งเต้า จำนวน 22 คน วางแผนรังสีรักษาสามมิติ 3 แผน ได้แก่ เทคนิคจุดร่วมเดียวพื้นที่เต็มลำรังสีระหว่างพื้นที่รังสีต่อมน้ำเหลืองและผนังทรวงอก (SIToaSPC) เทคนิคจุคร่วมเดียวพื้นที่เต็มลำรังสีร่วมกับปรับเปลี่ยนมุมพื้นที่รังสีระหว่างพื้นที่รังสีต่อมน้ำเหลืองและผนังทรวงอก (SITCFB) และเทคนิคจุดร่วมเดียวครึ่งพื้นที่ลำรังสีระหว่างพื้นที่รังสีต่อมน้ำเหลืองและผนังทรวงอก (SITHBB) เปรียบเทียบค่าเชิงรังสีคณิตของอวัยวะปกติข้างเคียง (ปอดและหัวใจ ต่อมน้ำเหลืองระดับ 1-3 และรอยต่อพื้นที่รังสีกับ รวมถึงเปรียบเทียบคะแนนคุณภาพโดยใช้เทคนิค SITHBB เป็นมาตรฐาน ผลการวิจัย: แผนรังสี SIToaSPC ให้ปริมาณรังสีแก่อวัยวะปกติข้างเคียงที่ต่ำ แต่พบว่ารอยต่อพื้นที่รังสีนั้นได้รับปริมาณรังสีที่ต่ำกว่าปริมาณรังสีที่รังสีแพทย์กำหนด สำหรับแผนรังสี SITCFB. และ SITHBB พบว่าปริมาณรังสีที่อวัยวะปกติข้างเคียงได้รับไม่แตกต่างกัน มีเพียงปริมาตรปอดข้างเดียวกับรอยโรคที่ได้รับปริมาณรังสี 20 Gy ของแผนรังสี SITCFB ที่มีค่าน้อยกว่า SITHBB สำหรับต่อมน้ำเหลือง ระดับ 1 พบว่าแผนรังสี SIToaSPC ได้รับปริมาณรังสีน้อยที่สุดและต่ำกว่าปริมาณรังสีที่แพทย์กำหนด เมื่อพิจารณเปรียบเทียบคะแนนคุณภาพกับ พบว่าแผนรังสี SITCFB ให้คะแนนคุณภาพที่ดีกว่า SIToaSPC และมากกว่า SITHBB เล็กน้อย สรุปผลการวิจัย: แผนรังสี SITCFB แสดงให้เห็นถึงปริมาณรังสีต่ำที่อวัยวะข้างเคียงได้รับรวมถึงปริมาณรังสีที่รอยต่อพื้นที่รังสีที่ดีขึ้นเมื่อเทียบกับ SIToaSPC สำหรับคะแนนคุณภาพแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพที่ดีไม่ต่างจากแผนรังสี SITHBB สามารถลคข้อจำกัดขนาดพื้นที่รังสีใน SITHBBen_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620731016 อนุพงษ์ คงสา.pdf11.4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.