Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73654
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤมล กิมภากรณ์ | - |
dc.contributor.author | เจษฎา ชูดวง | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-18T10:13:59Z | - |
dc.date.available | 2022-07-18T10:13:59Z | - |
dc.date.issued | 2021-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73654 | - |
dc.description.abstract | The objective of this independent research on Perceived Service Value of Lanna Polytechnic Chiang Mai Technological College Affecting Intention to Further Study of Third-Year Vocational Certificate Students is to study the components afflicting value of service perception and their influences affecting value of service perception of the intention to further study at Lanna Polytechnic Chiang Mai Technological College of Third-Year Vocational Certificate Students. A questionnaire was used to collect data and select a sample sample from 720 students at Lanna Polytechnic Chiang Mai Technological College level. The data were analyzed using descriptive and inferential statistics such as frequency, percentage, mean, independent t-test and one-way ANOVA correlation analyzes and multiple regression analyzes. i University The results of the study shows that most of the participants were male who wanted to study at the vocational level in automotive mechanics first, followed by tourism, accounting, electrical power, construction, information technology, electronics, business computer, architecture, and marketing field, respectively. The participants perceive the qualitative service value at a high level, the emotional service value at a high level, the monetary service value at a high level, the service value of worthiness at a perceived level, the acceptance service value at a high level. With that in mind, the overall value is being recognized at a high level with the high intention to study in the same institution. As for the relationship analysis, it was found that students with different genders recognized qualitative service value, emotional service value, monetary service value, and service value of worthiness differently; however, they all agree on the same acceptance service value, overall service value, and intention to study in the same institution. In addition to that, students with different branches recognized perceived service value, overall service value, and intention to study differently. Moreover, students with different expectations after graduating from Vocational Level 3 recognized the same qualitative service value, emotional service value, monetary service value, service value of worthiness, overall service value and intention to study; in contrast, they recognize the acceptance service value differently. In summary from the study of the relationship between service perception components and overall service perception, it was found that the five components of service perception influenced overall service perception. The most influential element is the acceptance service value, followed by service value of worthiness, emotional service value, qualitative service value, and monetary service value, respectively. For the study of the relationship between the perception components, service value and the intention of continuing education, it was found that the five aspects of service perception components influenced the intention of continuing further education. The most influential elements are service value of worthiness, followed by the acceptance service value, qualitative service value, monetary service value, and emotional service value, respectively. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การรับรู้คุณค่าการบริการของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ต่อความตั้งใจของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ในการศึกษาต่อสถาบันเดิม | en_US |
dc.title.alternative | Perceived service value of Lanna Polytechnic Chiang Mai Technological College affecting intention to further study of third-year vocational certificate students | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | นักศึกษา -- การศึกษาต่อ | - |
thailis.controlvocab.thash | นักศึกษา -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาลัยการอาชีพ -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ | - |
thailis.controlvocab.thash | วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระเรื่อง การรับรู้คุณค่าการบริการของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ต่อความตั้งใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 ในการศึกษาต่อสถาบันเดิม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบการรับรู้คุณค่าการบริการ และศึกษาอิทธิพลของการรับรู้คุณค่าการบริการของวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ ต่อความตั้งใจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปืที่ 3 ในการศึกษาต่อสถาบันเดิม ซึ่งใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล และเลือกกลุ่มตัวอย่างจากกลุ่มประชากรนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 3 วิทยาลัยเทคโนโลขีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่ จำนวน 720 คนมีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ด้วย Independent 1-test และ One-Way ANOVA พร้อมทั้งวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายที่มีความต้องการศึกษาต่อในระดับ ปวส. ในสาขาช่างยนต์เป็นอันดับแรก รองลงมาคือ สาขาการท่องเที่ยว สาขาการบัญชี สาขาไฟฟ้ากำลัง สาขาก่อสร้าง สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ สาขาสถาปัตยกรรม และสาขาการตลาด ตามลำดับ ซึ่งผู้ตอบแบบสอบถามรับรู้คุณค่าบริการด้านคุณค่าเชิงคุณภาพ อยู่ในระดับมาก รับรู้คุณค่าบริการด้านคุณค่เชิงอารมณ์ อยู่ในระดับมาก รับรู้คุณค่บริการค้านคุณค่าเชิงตัวเงิน อยู่ในระดับมาก รับรู้คุณค่าบริการด้านคุณค่าเชิงความคุ้มค่า อยู่ในระดับมาก รับรู้คุณค่าบริการด้านคุณค่าเชิงการยอมรับ อยู่ในระดับมาก พร้อมทั้งรับรู้คุณค่าในภาพรวมได้ในระดับมาก และมีความตั้งใจในการศึกษาต่อในสถาบันเดิมอยู่ในระดับมาก ในส่วนของการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์พบว่า นักศึกษาที่มีเพศแตกต่างกัน รับรู้คุณค่าบริการด้านคุณค่าเชิงคุณภาพ ด้านคุณค่าเชิงอารมณ์ ด้านคุณค่าเชิงตัวเงิน และด้านคุณค่าเชิงความคุ้มค่า แตกต่างกัน แต่รับรู้คุณค่าบริการด้านคุณค่าเชิงการยอมรับ การรับรู้บริการในภาพรวม และความตั้งใจในการศึกษาต่อ ไม่แตกต่างกัน นักศึกษาที่มีสาขาต่างกันมีการรับรู้คุณค่าบริการ การรับรู้คุณค่าในภาพรวม และมีความตั้งใจในการศึกษาต่อที่แตกต่างกัน นักศึกษาที่มีความคาดหวังหลังจากจบการศึกษาระดับ ปวช.3 ที่แตกต่างกันรับรู้คุณค่บริการด้านคุณค่าเชิงคุณภาพ ด้านคุณค่าเชิงอารมณ์ ด้านคุณค่าเชิงตัวเงิน ด้านคุณค่าเชิงความคุ้มค่า การรับรู้คุณค่าในภาพรวม และความตั้งใจในการศึกษาต่อ ไม่แตกต่งกัน แต่รับรู้คุณค่าบริการ ด้านคุณค่าเชิงการยอมรับ แตกต่างกัน ทั้งนี้จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการรับรู้คุณค่าบริการและการรับรู้คุณค่าบริการในภาพรวม พบว่า องค์ประกอบการรับรู้คุณค่าบริการทั้ง 5 ด้าน มีอิทธิพลต่อการรับรู้คุณค่าบริการในภาพรวม โดของค์ประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือ ด้านคุณค่าเชิงการยอมรับรองลงมาคือ การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงความคุ้มค่า ถัดมาคือ การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงอารมณ์การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงคุณภาพ และการรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงตัวเงิน ตามลำดับ ส่วนการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบการรับรู้คุณค่าบริการและความตั้งใจในการศึกษาต่อพบว่า องค์ประกอบการรับรู้บริการทั้ง 5 ด้าน มีอิทธิพลต่อความตั้งใจในการศึกษาต่อ โดยองค์ประกอบที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือ ด้านคุณค่าเชิงความคุ้มค่า รองลงมาคือ การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงการยอมรับ ถัดมาคือ การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงคุณภาพ การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงตัวเงิน และ การรับรู้คุณค่าด้านคุณค่าเชิงอารมณ์ ตามลำดับ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
611532211 เจษฎา ชูดวง.pdf | 2.68 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.