Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73649
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เจรียงประเสริฐ-
dc.contributor.authorสุกฤตา วงค์ไพบูลย์en_US
dc.date.accessioned2022-07-17T08:19:22Z-
dc.date.available2022-07-17T08:19:22Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73649-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study is to investigate consumer behavior of Generation Y in Mueang Chiang Mai district regarding using food delivery services via mobile applications. Questionnaires were used as a tool to gather data from 385 samples who are in generation Y, are living in Mueang Chiang Mai district, and have used the food delivery services in the past 3 months. The data were analyzed using descriptive statistics in the form of frequency, percentage, and mean and using inferential statistics in the form of Independent-Sample T-test and One-Way ANOVA. The majority of the samples were females, holding a bachelor's degree or lower, working at private companies, with an average monthly income of lower than 20,000 baht. The online marketing mix factors that had the greatest average impact on the use of food delivery services via mobile applications in each factors are as follows: for the product factors, stable application system; for the price factors, reasonable price for service; for the place factors, convenient and prompt payment channels; for the promotion factors, collaboration between applications and restaurant partners on food promotions; for the personalization factors, system's capability of suggesting preferred restaurants; and for privacy factors, not disclosing users' personal information, such as address, telephone number or credit card number, to people who are not related to the service. The results demonstrated that the influence of online marketing mix on the use of food delivery services via mobile applications varied according to different demographic characteristics. The product factors had a different effect on consumers' usage of food delivery services according to gender, education level, occupation, and average monthly income. The influence of price and place factors differed according to gender and occupation. The impact of promotion factors differed according to gender, occupation, and average monthly income. Personalization factors had a different effect according to education level and average monthly income. Finally, the impact of privacy factors differed according to occupation and average monthly income.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleพฤติกรรมของผู้บริโภคเจเนอเรชันวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ต่อการใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชันen_US
dc.title.alternativeConsumer behavior of generation Y in Mueang Chiang Mai District towards using food delivery services via mobile applicationen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashบริการอาหาร-
thailis.controlvocab.thashร้านอาหาร-
thailis.controlvocab.thashการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคเจเนอเรชันวายในอำเภอเมืองเชียงใหม่ ต่อการใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชัน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริโภคเจเนอเรชันวาย ที่อาศัยอยู่ในอำเภอเมืองเชียงใหม่ และเคยใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชัน ภายในรอบ 3 เดือนที่ผ่านมา จำนวน 385 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และสถิติเชิงอนุมาน ด้วย Independent-Sample T test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือต่ำกว่า อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนอยู่ในช่วงไม่เกิน 20,000 บาท ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่มีผลต่อการใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชันที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดในแต่ละด้าน พบว่า ด้านผลิตภัณฑ์ ได้แก่ แอปพลิเคชันที่ใช้งานมีความเสถียร ด้านราคา ได้แก่ อัตราค่าบริการสั่งอาหารมีความเหมาะสม ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ได้แก่ ช่องทางในการชำระค่าบริการที่สะดวกและรวดเร็ว ด้านการส่งเสริมการตลาดได้แก่ แอปพลิเคชันร่วมกับพาร์ทเนอร์ร้านอาหารจำนวนหลากหลายร้านจัดโปรโมชันลดราคาอาหาร ด้านการให้บริการส่วนบุคคล ได้แก่ แอปพลิเคชันสามารถนำเสนอร้านพาร์ทเนอร์ร้านอาหารที่ผู้ใช้บริการอาจจะชอบ เพื่อเป็นทางเลือกในการตัดสินใจสั่งอาหารในแต่ละมื้อ และด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว ได้แก่ ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้บริการต่อผู้ที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกับการให้บริการ เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หมายเลขบัตรเครดิต เป็นต้น ผลการศึกษาด้านระดับการมีผลของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ทั้ง 6 ด้านต่อการใช้บริการสั่งอาหารแบบจัดส่งผ่านโมไบล์แอปพลิเคชัน ตามลักษณะประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน พบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีผลต่อการ ใช้บริการ แตกต่างกันตามเพศ ระดับการศึกษา อาชีพและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ด้านราคาและด้านช่องทางการจัดจำหน่ายแตกต่างกันตามเพศและอาชีพด้านการส่งเสริมการตลาด แตกต่งกันตามเพศ อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ด้านการให้บริการส่วนบุคคล แตกต่างกันตามระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน และด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว แตกต่างกันตามอาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611532107 สุกฤตา วงค์ไพบูลย์.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.