Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73623
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญศรี แก้วคำอ้าย-
dc.contributor.authorวีรภัทร บัวประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2022-07-11T11:14:33Z-
dc.date.available2022-07-11T11:14:33Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73623-
dc.description.abstractA gemstone treatment has been used to improve quality of a gemstone, and hence to increase the price of the gemstone. Several types of gemstone treatments include heat treatment, bleaching treatment, radiation treatment, and the recently developed ion beam treatment. When the ion beam technique is performed on a gemstone, molecules of a gas have been released and activated to a radical stage, i.e., ions. These radical ions are accelerated and hit the gemstone. The physical impact of these ions on the gemstone provides the treatment effect. Corundum is one the most expensive gemstones in today’s market. Hence, the corundum gemstone quality improvement via the ion beam technique is explored in this study. Past experiences have indicated that all corundum cannot be improved to reach the same level of quality. Sometimes, the treatment on a corundum can propagate micro cracks into larger cracks and devalue the corundum. An important research question is to find out which corundum should undergo the ion beam treatment and which one should be left out. The most important quality improvement of our interests is the color change. In this study, the colors of a corundum before and after the ion beam treatment have been measured. Other various available physical parameters of the corundum have also been recorded to find out the correlation between these parameters and the color change of the corundum. Specifically, the color changes in the corundum were expressed as functions of these parameters. The mathematical models were represented in the 1st, 2nd, and 3rd order polynomials. The estimation of color changes in the corundum with the 3rd order polynomial provided the most accurate result. The accuracy was measured against the root mean square error with the Leave-one-out cross validation technique. The computational results have shown that initial color of the corundum dictated by molecules such as Ferrous Oxide (FeO) and Chromium Oxide (Cr2O3) have the strongest influences on the corundum’s color changes after the ion beam treatment.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแบบจำลองของการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมโดยใช้เทคนิคลำไอออนen_US
dc.title.alternativeModeling of Corundum Gemstone Quality Improvement Using Ion Beam Techniqueen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashคอรันดัม-
thailis.controlvocab.thashไอออน-
thailis.controlvocab.thashโมเลกุล-
thailis.controlvocab.thashอัญมณี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมถูกนำมาใช้เพื่อเปลี่ยนแปลงคุณภาพพลอยจากพลอยที่มีคุณภาพต่ำให้เป็นพลอยที่มีคุณภาพสูงขึ้น ซึ่งนั่นจะทำให้พลอยมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นด้วย โดยการปรับปรุงคุณภาพพลอยมีด้วยกันหลายวิธีอย่างเช่นการหุงพลอย การฟอกสีพลอย และการฉายรังสี ในปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีการยิงฝังลำไอออนมาประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงคุณภาพพลอย ซึ่งลำไอออนที่ที่ยิงฝังให้แก่พลอยจะทำให้พลอยเกิดการเปลี่ยนแปลงโมเลกุลภายในของพลอย ซึ่งเป็นผลให้พลอยมีการปรับปรุงคุณภาพเกิดขึ้น พลอยคอรันดัมที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพพลอยด้วยการยิงฝังลำไอออนแต่ละเม็ดจะมีการเปลี่ยนแปลงคุณภาพที่แตกต่างกัน บางครั้งการปรับปรุงคุณภาพทำให้พลอยเกิดการรอยร้าวขนาดเล็กจนไปถึงรอยแตกร้าวขนาดใหญ่ซึ่งเป็นผลให้พลอยเสียมูลค่าเป็นอย่างมาก เนื่องจากพลอยคอรันดัมเป็นอัญมณีชนิดหนึ่งที่มีราคาแพงที่สุดในตลาดปัจจุบัน ภายในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงได้มีการศึกษาการปรับปรุงคุณภาพพลอยคอรันดัมด้วยการยิงฝังลำไอออน และมีจุดประสงค์ในการเพิ่มประสิทธิภาพการปรับปรุงคุณภาพ หรือเป็นการลดความเสียหายของพลอยจากการปรับปรุงคุณภาพ ในการปรับปรุงคุณภาพพลอย สีของพลอยจะถูกใช้ในการระบุการเปลี่ยนแปลงคุณภาพที่เกิดขึ้น การปรับปรุงแต่ละครั้งจะมีการเก็บข้อมูลค่าสีทั้งก่อนและหลังการปรับปรุงคุณภาพ และพลอยแต่ละเม็ดยังถูกเก็บข้อมูลคุณสมบัติอื่นๆด้วย เพื่อนำคุณสมบัติเหล่านี้ไปใช้ในการอธิบายการเปลี่ยนแปลงสีที่เกิดขึ้นในพลอย ซึ่งภายในการศึกษานี้จะใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ในการอธิบายความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นของการเปลี่ยนแปลงสีในพลอยด้วยฟังก์ชันของคุณสมบัติต่าง ๆในพลอยแต่ละเม็ดซึ่งจะแสดงด้วยสมการโพลิโนเมียลอันดับ 1, 2 และ 3 จากผลลัพธ์ของการศึกษาพบว่าการประมาณการเปลี่ยนแปลงของสีด้วยสมการโพลิโนเมียลลำดับที่ 3 ให้ผลลัพธ์ที่แม่นยำมากที่สุด ซึ่งความแม่นยำนี้ถูกวัดจากค่าความผิดพลาดกำลังสองเฉลี่ยที่คำนวณร่วมกับด้วยเทคนิคลีฟวันเอาต์แบบไขว้ และจากการศึกษายังพบว่าเฟอร์รัสออกไซด์ และโครเมียมออกไซด์ เป็นองค์ประกอบทางเคมีที่สำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าสีของพลอย เมื่อพลอยได้รับการปรับปรุงคุณภาพด้วยการยิงฝังลำไอออนen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610631039 วีรภัทร บัวประเสริฐ.pdf7.62 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.