Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73619
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำนงค์ อุทัยบุตร | - |
dc.contributor.author | รัชฎาพร ตันต๊ะนา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-10T13:46:50Z | - |
dc.date.available | 2022-07-10T13:46:50Z | - |
dc.date.issued | 2020-10 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73619 | - |
dc.description.abstract | Anthracnose disease caused by Colletotrichum gloeosporioides is considerable problem of harvested mangoes. The objective of this study was to investigate the effect of using aqueous chlorine dioxide (ClO2) to control anthracnose disease under in vitro and in vivo conditions and its impact on the quality of ‘Nam Dok Mai’ mango fruits after harvest. The effects of ClO2 on spore germination and mycelial growth of C. gloeosporioides were studied. It was found that, ClO2 at concentration more than 5 mg/l completely inhibited spore germination and Its inhibitory effect on the growth of mycelium increased with the increasing ClO2 concentration. At 80 mg/l ClO2, the colony diameter was 61.85% inhibited when compared with the control. Using of aqueous ClO2 at 10 mg/l for 10 minute could effectively delay the expansion of black lesion diameter of inoculated mango fruit and mostly reduce the natural disease incidence of mangoes during storage. Using of ClO2, moreover, did not affect any changes of fruit quality including weight loss, firmness, total soluble solids content (TSS), titratable acidity content (TA), respiratory rate, ethylene production rate and color of mango fruits as compared to the control. Overall, concluded that ClO2 could be effectively used to control anthracnose disease in mangoes after harvest. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ผลของคลอรีนไดออกไซด์ต่อการควบคุมโรคแอนแทรคโนสและคุณภาพของผลมะม่วงน้ำดอกไม้หลังเก็บเกี่ยว | en_US |
dc.title.alternative | Effects of Chlorine Dioxide on control of Anthracnose disease and quality of harvested ‘Nam Dok Mai’ mango | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | มะม่วง | - |
thailis.controlvocab.thash | มะม่วง -- เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว | - |
thailis.controlvocab.thash | คลอรีน | - |
thailis.controlvocab.thash | เชื้อราในการเกษตร | - |
thailis.controlvocab.thash | แอนแทรคโนส | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | โรคแอนแทรคโนสที่เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides เป็นปัญหาที่สำคัญของผลมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยว งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้สารละลาย คลอรีนไดออกไซด์ (chlorine dioxide, ClO2) เพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสทั้งในระดับห้องปฏิบัติการและในผลมะม่วง และผลของ ClO2 ต่อคุณภาพของผลมะม่วงน้ำดอกไม้หลังการเก็บเกี่ยว จากการศึกษาผลของ ClO2 ต่อการงอกของสปอร์และการเจริญของเส้นใยเชื้อรา C. gloeosporioides พบว่า ClO2 ความเข้มข้นตั้งแต่ 5 มิลลิกรัม/ลิตร เป็นต้นไป สามารถยับยั้งการงอกของสปอร์ได้อย่างสมบูรณ์และผลการยับยั้งของ ClO2 ต่อการเจริญของเส้นใยจะเพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของ ClO2 ที่เพิ่มขึ้น โดย ClO2 ความเข้มข้น 80 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถยับยั้งการเจริญของ เส้นใยเชื้อราได้เท่ากับ 61.85 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม การใช้สารละลาย ClO2 ความเข้มข้น 10 มิลลิกรัม/ลิตร เป็นเวลา 10 นาที สามารถชะลอการขยายขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของแผลสีดาบนผลมะม่วงที่ผ่านการปลูกเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพและลดการเกิดโรค แอนแทรคโนสบนผลมะม่วงในระหว่างการเก็บรักษาได้มากที่สุด อีกทั้งการใช้ ClO2 ไม่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพของผลมะม่วง ได้แก่ เปอร์เซ็นต์การสูญเสียน้ำหนัก ความแน่นเนื้อ ปริมาณของแข็งทั้งหมดที่ละลายน้ำได้ ปริมาณกรดที่ไทเทรตได้ อัตราการหายใจ อัตราการผลิต เอทิลีนและสีเปลือกผล เมื่อเปรียบเทียบกับชุดควบคุม โดยรวมแล้วสรุปได้ว่า ClO2 สามารถนำไปใช้เพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนสในผลมะม่วงหลังการเก็บเกี่ยวได้อย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
610531027 รัชฎาพร ตันต๊ะนา.pdf | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.