Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73611
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Surat Hongsibsong | - |
dc.contributor.advisor | Somporn Chantara | - |
dc.contributor.advisor | Mookda Pattawarapan | - |
dc.contributor.advisor | Ratana Sapbamrer | - |
dc.contributor.advisor | Korawan Sringarm | - |
dc.contributor.advisor | Zhen-Lin Xu | - |
dc.contributor.author | Anurak Wongta | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-10T07:16:52Z | - |
dc.date.available | 2022-07-10T07:16:52Z | - |
dc.date.issued | 2021-06 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73611 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this study composed of 3 parts as follows; Part one was to develop a method for immunoassay for the determination of amyloid-beta 1-42 by using produced nanobodies and their application in urine samples. Part two was to analyze the biomarkers of exposure to chlorpyrifos in the urine samples of farmers and consumers. Part three involved exploring the relationship between a biomarker of AD and CPS among farmers and consumers who lived in the study area. In part one, sandwich ELISA was developed for the detection of Aβ1-42. After alpaca was immunized with antigen, a specific nanobody to Aβ1-42 was produced from PBLs of immunized alpaca using the phage biopanning technique. The obtained EC50 was 1.69 µg/mL. Another ic-ELISA was developed based on pAb of alpaca, which showed IC50 was 164.2 ng/mL and cross-reaction to Aβ1-40 and Aβ1-8 at 59.4 and 41.6%, respectively. The average recovery of Aβ1-42 was 105.6%, intra-assay CV and interassay CV were 3.6 - 6.9% and 2.8 - 8.2%, respectively. LoD and LoQ of ic-ELISA were 0.03 and 0.1 µg/mL, respectively. In part two, metabolites of CPS and OPs in urine samples of 84 farmers and 44 consumers in an agricultural area, San Pa Thong, Ching Mai, were determined using GCFPD. The results of OPs metabolites detection that including DMP, DMTP, DMDTP, DEP, DETP, and DEDTP showed that at least one metabolite was found in any urine samples and no significant difference of each metabolite between farmers and consumers. In part three, characteristics data and pesticides used the behavior of 128 participants were collected by interview. Cognitive decline test was performed using MMSE Thai 2002, detection of Aβ1-42 in urine samples was performed using developed ic-ELISA and used as a biomarker of AD. The results showed that all characteristics, including sex, age, education level, years in pesticide usage, and farming occupational, had been associated with cognitive decline in this study. The relationship between the biomarkers of exposure and cognitive decline showed that the high DEP concentration was significantly correlated with the low MMSE score. At the same time, the relationship between biomarkers of exposure and biomarker of AD could not be analyzed because of the undetectable results of Aβ1-42 in urine samples by ic-ELISA. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Development of high sensitivity nanobody for determining biomarker of Alzheimer’s disease and chlorpyrifos exposure | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนานาโนบอดีความไวสูงเพื่อหาตัวบ่งชี้โรคอัลไซเมอร์กับการสัมผัสสารคลอไพริฟอส | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | Nanobody | - |
thailis.controlvocab.thash | Alzheimer's disease | - |
thailis.controlvocab.thash | Chlorpyrifos | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ประกอบด้วย 3 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นการพัฒนาวิธีการอิมมิวโนเอสเซ สำหรับการตรวจหาอะไมลอยด์เบต้า 1-42 โดยการใช้นาโนบอดีที่ผลิตขึ้นเองและการประยุกต์ใช้ในตัวอย่างปัสสาวะ ในส่วนที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ตัวบ่งชี้ต่อการรับสัมผัสสารเคมีกลุ่มคลอไพริฟอสในตัวอย่างปัสสาวะของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรและผู้บริโภค ในส่วนที่ 3 เป็นการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวบ่งชี้ของการรับสัมผัสสารกลุ่มคลอไพริฟอสและตัวบ่งชี้ของโรคอัลไซด์เมอร์ในปัสสาวะของกลุ่มตัวอย่างเกษตรกรและผู้บริโภคที่อาศัยอยู่ใบพื้นที่ศึกษา โดยในส่วนที่ 1 แซนด์วิช ไลซ่า ได้รับการพัฒนาขึ้นเพื่อตรวจหาอะไมลอยด์เบต้า 1-42หลังจากทำการกระตุ้นภูมิคุ้มกันด้วยแอนติเจนในอัลพาก้าแล้ว นาโนบอดี้จำเพาะต่ออะไมลอยด์เบด้า1-42 ก็ถูกผลิตขึ้นจาก จากเม็ดเลือดขาวของอัลพาก้าโดยการใช้เทคนิค ฟาจไบโอแพนนิ้ง ได้ค่าร้อยละ 50 ของประสิทธิภาพเท่ากับ 1.69 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร พร้อมกันนั้นวิธีการตรวจด้วยวิธี อินไดเรก คอมแพททิทิพ อีไลซ่า ได้ถูกพัฒนาขึ้นจากการใช้โพลีโคนอลแอนติบอดีที่ได้จากอัลพาก้าและให้ค่าร้อยละ 50 ของการยับยั้งเท่ากับ 0.16 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร โดยมีปฏิกิริยาข้ามกับโปรตีนอะไมลอยด์เบต้า 1-40 และ อะไมลอยด์เบต้า 1-8 อยู่ที่ ร้อยละ 59.4 และ 41.6 ตามลำดับ การศึกษาการคืนกลับของอะไมลอยด์เบต้า 1-42 เฉลี่ยร้อยละ 10ร.6 การทดสอบความแม่นยำของการวิเคราะห์ตัวอย่าง ภายในวันเดียวกันมีค่าร้อยละสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนเท่ากับ 3.6 - 6.9% และค่าร้อยละสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนระหว่างการวิเคราะห์แต่ละวัน เท่ากับ 2.8 - 8.2% ค่าขีดจำกัดการวัดของวิธี อินไดเรก คอมแพททิทิพ อีไลซ่า คือ 0.03 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ค่าขีดจำกัดเชิงปริมาณ คือ 0.10 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตรในส่วนที่ 2 สารเมตตาโบไลท์ของคลอไพริฟอสและสารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตในตัวอย่าง ปัสสาวะของเกษตรกร 84 คน และผู้บริโภค 44 คนในพื้นที่เกษตรกรรม สันป่าตอง เชียงใหม่ โดยวิธีจีซี-เอฟพีดี ผลการตรวจหาสารเมตตาโบไลท์ของสารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตซึ่งประกอบด้วย ไดเมททิลฟอสเฟต ไดเมททิลไทโฟอสเฟต ไดเมททิลไดไทโอฟอสเฟต ไดเอททิลฟอสเฟต ไดเอททิลไทโอฟอสเฟต และ ไดเอททิลไดไทโอเฟสเฟต พบว่าในแต่ละตัวอย่างที่ตรวจ ตรวจพบสารอย่างน้อย 1 ตัว และไม่พบความแตกต่างของสารเมตตาโบไลท์ระหว่างกลุ่มของเกษตรกรและผู้บริโภค ในส่วนที่ 3 ข้อมูลลักษณะทั่วไปรวมถึงข้อมูลการใช้สารเคมีทางการเกษตร ของกลุ่มตัวอย่าง 128 คน ถูกเก็บรวบร วมด้วยวิธีการสัมภาษณ์ และมีการประเมินภาวะสมองเสื่อมเบื้องต้นด้วยแบบประเมิน เอ็ม เอ็ม เอส อี ไทย 2002 และตรวจหาอะไมลอยด์เบต้า 1-42 ในตัวอย่างปัสสาวะของกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธี อินไดเรก คอมแพททิทิพ อีไลซ่า ที่ได้พัฒนาขึ้นเพื่อใช้เป็นตัวบ่งชี้ทางชีวะภาพของโรคอัลไซด์เมอร์ ซึ่งจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะต่างๆของกลุ่มตัวอย่างซึ่งประกอบด้วย เพศ วัย การศึกษา ระยะเวลาที่มีการใช้สารเคมีทางการเกษตร และอาชีพเกษตรกรรมล้วนแล้วแต่มีผลต่อค่าความเสื่อมของสมองโดยทั้งสิ้น ส่วนความสัมพันธ์ของตัวบ่งชี้การสัมผัสสารกลุ่มออร์กาโนฟอสเฟตกับภาวะความจำเสื่อม พบว่าความเข้มข้นของไดเอททิลฟอสเฟตซึ่งเป็นสารเมตตาโบไลท์ของคอลไพริฟอสที่สูงขึ้นมีความสัมพันธ์ต่อการลดลงของคะแนน เอ็ม เอ็ม เอส อี อย่างมีนัยยะสำคัญ ในขณะที่การหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวชี้บ่งขี้ทางชีวะภาพของการสัมผัสสารคลอไพริฟอสกับตัวบ่งขี้ทางชีวะภาพของโรคอัลไซด์เมอร์ไม่สามารถทำได้เนื่องจากไม่มีการตรวจพบอะไมลอยค์เบต้า 1-42 ในตัวอย่างปัสสาวะของกลุ่มตรวจอย่างด้วยวิธีการ อินไดเรก คอมแพททิทิพ อีไลซ่า ที่พัฒนาขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590551020 อนุรักษ์ วงตา.pdf | 6.9 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.