Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเชษฐภูมิ วรรณไพศาล-
dc.contributor.advisorชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorธนบดี ปรเมธากุลen_US
dc.date.accessioned2022-07-10T05:40:54Z-
dc.date.available2022-07-10T05:40:54Z-
dc.date.issued2021-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73607-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the students' identity in the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province, and 2) To study the educational management guidelines for the students’ identity development in the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province. This study was a qualitative research. Interview was used as a research instrument to collect data from 3 senior executives of Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Chiang Mai Campus, and 3 from Mahamakut Buddhist University Lanna Campus. In addition, the research also had a questionnaire collected from 100 students in the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province. The quantitative data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, and the qualitative data were analyzed using the expository method. The results of the research were as follows: 1) There were six identities of the students of the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province as follows: 1) Respectable, 2) Knowledgeable, 3) Leadership, 4) Volunteering, 5) Self-development, and 6) Community and social development. 2) Educational management guidelines for the students identity development in the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province indicated that: 2.1) The level of the students identity development in the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province, who went through the 6 educational management processes as follows: 1) Instructor aspect, 2) Course aspect, 3) Teaching method aspect, 4) Teaching and learning media aspect, 5) Education place and ambience aspect, 6) Activities of the monks aspect. All 6 aspects had a very good overall average for promoting the practical level. 2.2) Educational management guidelines for the students’ identity development in the Higher Education Institutions of Monks, Chiang Mai Province had the following guidelines. 1) Develop teachers to have knowledge and understanding of university identity and to have morality, ethics, and to be a good role model. 2) Curriculum design that focuses on introspection practice and social change that can sustain themselves in society with values. 3) Learning management focuses on teaching knowledge and virtue that can be used for practical purposes. 4) Innovative teaching and learning focused on digital media and online search to promote digital citizenship. 5) Arrangement of places and ambience to focus on building a learning park and linking learning from real phenomena. 6) Organizing learning activities focusing on characteristics of social responsibility and public citizenship according to the concept of Buddhism.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ของพระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEducational management for student identity development in the higher education institutions of monks, Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashพระสงฆ์-
thailis.controlvocab.thashสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาอัตลักษณ์ของพระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการศึกษาในการส่งเสริมอัตถักษณ์ของพระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการใช้แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่ จำนวน 3 รูป และมหาวิทยาลัชมหามกุฎราชวิทยาลัย วิทยาเขตล้านนา จำนวน 3 รูป และจากแบบสอบถามซึ่งจัดเก็บจากพระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 100 รูป วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยแสดงเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีอรรถธิบาย ผลการวิจัยพบว่า 1) อัตลักษณ์พระนิสิตนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาของสงม์ จังหวัดเชียงใหม่มี 6 ประการ ประกอบด้วย 1) น่าเคารพ 2) รู้เท่าทันโลก 3) มีภาวะผู้นำ 4 มีจิตอาสา 5) พัฒนาตนเอง 6) พัฒนาชุมชน และสังคม 2) แนวทางการจัดการศึกษาในการส่งสริมอัตลักษณ์ของพระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ พบว่า 2.1) ระดับการส่งเสริมอัตลักษณ์พระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ ที่ผ่านกระบวนการจัดการศึกษาทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านอาจารย์ผู้สอน 2) ด้านหลักสูตร 3) ด้านวิธีการสอน 4) ด้านสื่อการเรียนการสอน 5) ด้านสถานที่ศึกษาและบรรยากาศแวดล้อม และ 6) ด้านกิจกรรมของพระนิสิตนักศึกษาซึ่งทั้ง 6 ด้านมีผลรวมเฉลี่ยในการส่งเสริมระดับปฏิบัติมาก 2.2) แนวทางการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมอัตลักษณ์ของพระนิสิตนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของสงฆ์ จังหวัดเชียงใหม่ มีแนวทางดังนี้ 1) พัฒนาอาจารย์ผู้สอนให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย และมีคุณธรม จริยธรรม และดำรงตนเป็นแบบอย่างที่ดี 2) การออกแบบหลักสูตรที่ให้ความสำคัญกับการปฏิบัติวิปัสสนากัมมัฏฐาน และการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่สามารถดำรงตนให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า 3) การจัดการเรียนรู้ เน้นการสอนแบบความรู้คู่คุณธรรมที่นำไปใช้ประโยชน์ได้จริง 4) นวัตกรรมการเรียนการสอน มุ่งเน้นการใช้สื่อดิจิทัล และการสืบค้นด้วยระบบออนไลน์ที่ส่งเสริมความเป็นพลเมืองดิจิทัล 5) การจัดสถานที่ศึกษาและบรรยากาศแวดล้อม มุ่งเน้นให้เกิดอุทยานการเรียนรู้และเชื่อมโยงการเรียนรู้จากปรากฏการณ์ที่อยู่ในสภาพจริง 6) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มุ่งเน้นคุณลักษณะความรับผิดชอบสังคมและความเป็นพลเมืองสาธารณะตามแนวคิดพุทธศาสตร์en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590232132 ธนบดี ปรเมธากุล.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.