Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73606
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุนทรพจน์ ดารงค์พานิช | - |
dc.contributor.author | ชัชรีย์ วงศนิ้ว | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-10T04:20:47Z | - |
dc.date.available | 2022-07-10T04:20:47Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73606 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this research was to1) to study characteristics and assess the quality of innovative research that develops mathematical skills and processes. 2) To study the magnitude of influence of innovative research on developing mathematical skills and processes. 3) to group teaching styles that develop skills, mathematical processes that develop mathematical skills and processes, and 4) To compare influence size, mean, influence size of research on different teaching models after adjusting matching the Propensity Score From theses for Master’s degree or independent studies from state universities published Between the years 2008 – 2019 from 213 research topics. The instruments used for data collection were research feature records. And research quality assessment form, Data analysis using descriptive statistics, the research influence magnitude was calculated using meta-analysis using the method of Hedges (Card.) Information collected It is the research attribute data and research results in the form of influence size value. Tools used for data collection Is the research feature record form And research quality assessment form Data analysis using descriptive statistics Meta-regression analysis with a fixed effect and Random effect Latent Class Analysis : (LCA). And analysis of differences of mean, size, influence of each pair and take the test later (Post - Hoc Comparison). Matching and comparing the Propensity Score. The results of the research found that 1) The magnitude of the influence of research related to teaching style innovations to develop skills and mathematical process Out of 213 studies, 213 influence magnitude values (d) were calculated. An influence size value between -8.744 and 12.823 and the mean influence size (d) was 1.936, meaning that Innovation has a 1.936 times deviation in mathematical skills and processes development. Standard. Influence magnitude distribution characteristics are higher than the mean value. It indicates that the influence magnitude is inherent. The distribution is right-angled (Sk = 1.099) and the distribution of the data is higher than the normal curve (Ku = 3.296). and the research quality was averaged 2.836, meaning that the research quality was at a good level. 2) The results of the analysis of research characteristics variables affecting the influence size from 20 variables found that there were 4 variables with statistical significance at .05 level, namely 1 Field of research production (2) experimental pattern (3) data analysis (4) the other variables, there is no difference. 3) The results of the classification of research groups according to the teaching style were divided into 4 groups: Group 1 The self-knowledge-building (d= 1.825) Group 2 focuses on the problem-based process-based (d=0.203) Group 3, working group as a cooperative learning group (d= 1.550) , and group 4, the examination learning group (d=1.652). It was found that Group 1 promotes self-knowledge creation. higher than another group, group 2 the problem-based process statistically significant at level .05 4) The results of a comparative analysis of teaching styles that develop skills and educational processes Mathematics at the basic educational level before using the inclination score matching technique. It was found that the mean size The total influence was 1.936. The self-knowledge-building group had the highest mean of the influence size. (d= 1.803), followed by the examination learning group (d=1.625). The working group as a cooperative learning group (d=1.550) and the problembased process-based group had the least influence (d=0.203) after the study. Adjusted by the inclination score, it was found that the mean total influence size was 0.33, the self-knowledge-building group had the highest mean of influence size (d=0.173), followed by the examination learning group. The survey form (d=0.162), the third was the cooperative learning group (d=0.157), and the problembased process-based group had the mean least influence size (d=0.077), and there was a significant effect of influence at the .05 level. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์อภิมานและการวิเคราะห์กลุ่มแฝงเพื่อศึกษาคุณลักษณะนวัตกรรมที่พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ของการศึกษาขั้นพื้นฐาน : การประยุกต์ใช้วิธีการจับคู่คะแนนโน้มเอียง | en_US |
dc.title.alternative | Meta-Analysis and latent class analysis to study innovation skills development and the process of mathematical education of basic : an applying of propensity score matching | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน | - |
thailis.controlvocab.thash | คณิตศาสตร์ | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์อภิมาน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะและประเมินคุณภาพงานวิจัยนวัตกรรมที่พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2) เพื่อศึกษาขนาดอิทธิพลของงานวิจัยนวัตกรรมที่พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 3) เพื่อจัดกลุ่มรูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และ 4) เพื่อเปรียบเทียบขนาดอิทธิพลค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพลงานวิจัยที่ให้รูปแบบการสอนที่แตกต่างกันภายหลังการปรับคะแนนด้วยวิธีการจับคู่คะแนน โน้มเอียง จากวิทยานิพนธ์หรือการศึกษค้นคว้าอิสระระดับบัณฑิตศึกษาที่พิมพ์เผยแพร่ระหว่างปี พ.ศ. 2551 - 2562 จำนวน 213 เรื่อง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล คือ แบบบันทึกคุณลักษณะงานวิจัย และแบบประเมินคุณภาพงานวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics) คำนวณค่าขนาดอิทธิพลของงานวิจัยโดยใช้การวิเคราะห์อภิมานด้วยวิธีการของเฮดเจส (Hedges) ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้เป็นข้อมูลคุณลักษณะงานวิจัยและผลการวิจัยที่อยู่ในรูปค่าขนาดอิทธิพล ใช้การวิเคราะห์ถดถอยอภิมานแบบอิทธิพลกำหนด (Fixed effect) และอิทธิพลสุ่ม (Random effect) ผลการวิจัย พบว่า 1) คำขนาดอิทธิพลของงานวิจัยที่เกี่ยวกับนวัตกรรมรูปแบบการสอนเพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ จากงานวิจัยทั้งหมด 213 เรื่อง คำนวณค่าขนาดอิทธิพล (d) ได้ 213 ค่า ได้ค่าขนาดอิทธิพลระหว่าง -8.744 ถึง 12.823 และค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพล (d) เท่ากับ 1.936 หมายความว่า นวัตกรรมมีผลต่อการพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ได้ 1.936 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ลักษณะการแจกแจงค่าขนาดอิทธิพล สูงกว่าค่ากลาง แสดงว่า ค่าขนาดอิทธิพลมีลักาณะ การแจกแจงแบบเบ้ขวา (Sk = 1.099) และมีลักษณะการแจกแจง ของข้อมูลสูงกว่าโค้งปกติ (Ku = 3.29) และคุณภาพของงานวิจัยมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 2.836 หมาขความว่า คุณภาพงานวิจัยอยู่ในระดับดี 2) ผลการวิเคราะห์ตัวแปรคุณลักษณะงานวิจัยที่มีผลต่อค่าขนาดอิทธิพลจาก 20 ตัวแปร พบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 4 ตัวแปร ได้แก่ 1) สาขาที่ผลิตงานวิจัย 2) แบบแผนการทดลอง 3) การวิเคราะห์ข้อมูล 4) รูปแบบนวัตกรรม ส่วนตัวแปรคุณลักษณะอื่นๆ ไม่มีผลต่อค่าขนาดอิทธิพล 3) ผลการจำแนกกลุ่มงานวิจัยดามรูปแบบการเรียนการสอนได้จำนวน 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม 1 กลุ่มส่งเสริมการคิดสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (d = 1.825) กลุ่ม 2 กลุ่มเน้นกระบวนการใช้ ปัญหา เป็นฐาน (d = 0.203) กลุ่ม 3 กลุ่มปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเรียนรู้แบบร่วมมือ (d = 1.550) และ กลุ่ม 4 กลุ่ม การเรียนรู้แบบสืบสอบ (d = 1.652) ทั้งนี้พบว่า กลุ่ม 1 กลุ่มส่งเสริมการคิดสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง สูงกว่ากลุ่ม กลุ่ม 2 กลุ่มเน้นกระบวนการใช้ปัญหาเป็นฐาน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบการสอนที่พัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานก่อนใช้เทคนิคจับคู่คะแนนความโน้มเอียง พบว่า ค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพลรวมเท่ากับ 1.93 กลุ่มส่งเสริมการคิดสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพลสูงสุด (d = 1.803) รองลงมาคือ กลุ่มการเรียนรู้แบบสืบสอบ (d = 1.625) ลำดับที่สามกลุ่มปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเรียนรู้แบบร่วมมือ (d = 1.550) และกลุ่มเน้นกระบวนการใช้ปัญหาเป็นฐานมีค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพลน้อยที่สุด (d = 0.203) และไม่มีรูปแบบการสอนใดที่มีผลต่อค่าขนาดอิทธิพล ภายหลังการปรับค่าด้วยคะแนนความโน้มเอียง พบว่า ค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพลรวมเท่ากับ 0.33 กลุ่มส่งเสริมการคิดสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองมีค่าเฉลี่ยขนาดอิทธิพลสูงสุด (d = 0.173) รองลงมาคือ กลุ่มการเรียนรู้แบบสืบสอบ (d = 0.162) ลำดับที่สามกลุ่มปฏิบัติงานเป็นกลุ่มเรียนรู้แบบร่วมมือ (d = 0.157) และกลุ่มเน้นกระบวนการใช้ปัญหาเป็นฐานมีค่าฉลี่ยขนาดอิทธิพลน้อยสุด (d = 0.077) และรูปแบบการสอนกลุ่มเน้นกระบวนการใช้ปัญหาเป็นฐานมีผลต่อค่าขนาดอิทธิพลทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590232003 ชัชรีย์ วงศนิ้ว.pdf | 54.12 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.