Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73602
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกียรติสุดา ศรีสุข | - |
dc.contributor.author | กฤษดา แผลงศร | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-10T03:05:24Z | - |
dc.date.available | 2022-07-10T03:05:24Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73602 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this study was to assess teachers' and education personnel's academic service needs for a new approach to pedagogical sciences and to determine the academic service practices of the Faculty of Education for a new approach to pedagogical sciences. The study includes 1006 teachers and education personnel from eight provinces in Northern Thailand who were chosen using a stratified random sampling technique, as well as five educational experts. The study gathered data through the distribution of a questionnaire with 57 questions to the chosen teachers and educational personnel, as well as a semi-structured interview with educational experts about academic service initiatives. The descriptive statistics (frequency, percentage, mean, standard deviation) and priority need index (PNImodified) were used to analyze quantitative data, whereas content analysis was used to analyze qualitative data. The study discovered that the PNImodified for teachers and educational personnel is 0.21 on average. When each component of academic service is considered, the study discovered that (1) the PNImodified for increasing learner involvement, utilizing information technology in learning management, and developing learners through learning assessment is 0.22 (2) the PNImodified for social and community phenomenology-based learning and teaching is 0.21 (3) the PNImodified for 21st century learning management is 0.20 (4) the PNImodified for integrating higher order thinking skills is 0.19. Furthermore, the study discovered that the Faculty of Education employs four distinct strategies for providing academic services to teachers and educational personnel in the field of a new pedagogical science: (1) educating teachers and educational personnel about innovative teaching strategies, assisting them in transforming classroom practices, strengthening their ICT skills for organizing teaching and learning, and enhancing their ability to conduct authentic assessments. The study also discovered that the Faculty of Education employs four distinct strategies for providing academic services to teachers and educational personnel in the field of a new pedagogical science: (1) providing teachers and educational personnel with new teaching strategies, assisting them in transforming classroom practices, promoting their ICT skills for organizing learning, and enhancing their ability to conduct authentic assessments (2) proactive organizational management, which entails enhancing institutional branding by highlighting faculty members' expertise (3) workshops with the goal of reorienting teachers' perspectives on teaching and learning, information technology, and authentic assessment (4) a systematic coaching process in which the Faculty of Education monitors, advises, and assists individual teachers and educational personnel. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินความต้องการจำเป็นในการรับบริการวิชาการทางด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่ของครูและบุคลากรทางการศึกษาในภาคเหนือตอนบน | en_US |
dc.title.alternative | Needs assessment for receiving service under the new pedagogy of teachers and educational personnel in upper northern region | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ครู -- การสอน | - |
thailis.controlvocab.thash | สถาบันอุดมศึกษา -- บริการชุมชน | - |
thailis.controlvocab.thash | การศึกษา | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินความต้องการจำเป็นของครูและบุคลากรทางการศึกษาในการรับบริการวิชาการ ทางด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่แก่ครูในภาคเหนือตอนบนและ 2) ศึกษาแนวทางการให้บริการทางวิชาการ ของคณะศึกษาศาสตร์แก่ของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่แก่ครูในภาคเหนือบน ตัวอย่างในการวิจัย คือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 1,006 คน ใน 8 จังหวัด ภาคเหนือตอนบน ได้มาโดยวิธีการสุ่มหลายขั้นตอน (Multi Stage Random Sampling) และผู้เชี่ยวชาญในการให้สัมภาษณ์ 5 คน เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถามการประเมินความต้องการจำเป็นในการรับบริการวิชาการด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่ จำนวน 57 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.984 และประเด็นในการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับแนวทางการให้บริการวิชาการทางด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการหาค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNImodified) ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ความต้องการจำเป็น (Priority Need Index modified : PNImodified) ของครูและบุคลากรทางการศึกษาในการรับบริการวิชาการทางด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่ในภาคเหนือตอนบนในภาพรวม มีค่า PNI = 0.21 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ด้านการเพิ่มบทบาทผู้เรียน ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจัดการเรียนรู้ และด้านการประเมินการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน (มีค่า PNImodified เท่ากัน = 0.22) ด้านการจัดการเรียนรู้สภาพจริง/ปรากฎการณ์ทางสังคม ชุมชน และด้านการส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้างนวัตกรรมของตนเอง (มีค่า PNImodified เท่ากัน = 0.21) ด้านการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีค่า PNImodified= 0.20 และสุดท้าย คือ ด้านการบูรณาการทักษะการคิดขั้นสูง (PNImodified = 0.19) ตามลำดับ 2. แนวทางการให้บริการทางวิชาการ ของคณะศึกษาศาสตร์แก่ของครูและบุคลากรทางการศึกษาทางด้านศาสตร์การสอนแนวใหม่แก่ครูในภาคเหนือตอนบน มี 4 แนวทางคือ 1) พัฒนาครูด้านกลยุทธ์การสอนที่ทันสมัย พัฒนาครูให้เปลี่ยนวิธีสอน ใช้วิธีสอนใหม่ ๆ พัฒนาครูให้มีศักยภาพในการ ใช้ ICT ในการจัดการเรียนรู้ และการประเมินตามสภาพจริง โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ 2) การจัดการเชิงรุก คือ การสร้างแบรนด์ของศึกษาศาสตร์ให้ชัดเจน โดยระบุความเชี่ยวชาญในเรื่องต่าง ๆ ของคณาจารย์ 3) การจัดหลักสูตรอบรมในการปรับ Mindset ของครูด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านการวัดและการประเมินผล 4) Coaching คณะจะต้องเป็นผู้คอยกำกับและติดตามให้ความช่วยหลือกับครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งให้คำปรึกษา โดยมองว่าคณะศึกษาศาสตร์เป็นผู้นำด้านศาสตร์การสอน | en_US |
Appears in Collections: | EDU: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590232002 กฤษดา แผลงศร.pdf | 2.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.