Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤนาถ ศราภัยวานิช-
dc.contributor.authorพัทธ์ธีรา เพ่งพิศen_US
dc.date.accessioned2022-07-09T11:09:49Z-
dc.date.available2022-07-09T11:09:49Z-
dc.date.issued2020-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73599-
dc.description.abstractThis study aimed to examine moderating effect of corporate governance on relationship between genders of the Board of Directors and the economic, social, and environment performance of companies listed on the Stock Exchange of Thailand (SET). Data were gathered from the total of 2,308 datasets of annual reports and form 56-1, which were prepared by 483 companies at the end of accounting period during B.E. 2557-B.E.2561 as presented in the SET website. In this study, in order to examine moderating effect of corporate governance on relationship between genders of the Board of Directors and the economic, social, and environment performance of companies listed on the SET, the following variables were selectively determined : gender of Board of Directors was the independent variable; the corporate social responsibility (CSR) performance was the dependent variable; and the corporate governance (CG) was the moderating variable. In order to describe the preliminary statistics of the total 2,308 datasets as the research samples, the descriptive statistics was applied. The findings presented that 30.34% of the companies listed on the SET had a minimum number of three female members in the Board of Directors; 71.20% of these companies were ranked in the excellent, very good, and good levels of corporate governance; and these companies averagely earned the corporate social responsibility score at 0.56 out of 1. According to the multiple regression analysis on the relationship between genders and the moderating effect, the results were presented as follows. 1) Gender of Board of Directors positively correlated with the corporate social responsibility performance. 2) The corporate governance did not affect to the relationships between gender of Board of Directors and the corporate social responsibility performance. 3) There was a positive correlation between the corporate governance and the corporate social responsibility performance at statistical significance.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลกระทบเชิงกำกับของการกำกับดูแลกิจการต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศของคณะกรรมการบริษัท และการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeModerating effect of corporate governance on relationship between gender of board of directors and social responsibility operations of listed companies in the stock exchange of Thailanden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ-
thailis.controlvocab.thashเพศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบเชิงกำกับของการกำกับดูแลกิจการต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศของคณะกรรมการบริษัทและการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยการรวบรวมข้อมูลจากรายงานประจำปีและแบบแสดงรายงาน 56-1 ณ สิ้นรอบบัญชีจากเว็บไซต์ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ สำหรับ 483 บริษัท ในปี พ.ศ. 2557-2561 ทั้งหมด 2,308 ชุดข้อมูล โดยตัวแปรอิสระที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย เพศของคณะกรรมการบริษัท โดยมีตัวแปรตามคือการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และมีการกำกับดูแลกิจการเป็นตัวแปรเชิงกำกับเพื่อทดสอบผลกระทบเชิงกำกับของการกำกับดูแลกิจการต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศของคณะกรรมการบริษัท และการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อใช้สถิติเชิงพรรณนาในการอธิบายค่าสถิติเบื้องต้นของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 2,308 ชุดข้อมูล พบว่าบริษัทจดทะเบียนที่มีคณะกรรมการที่เป็นเพศหญิงร่วมบริหารอย่างน้อย 3 คนขึ้นไปมีค่าอยู่ที่ร้อยละ 30.34 บริษัทจดทะเบียนที่ได้รับการคัดเลือกการกำกับดูแลกิจการที่อยู่ในระดับดีที่สุด ดีมาก และดี อยู่ที่ร้อยละ 71.20 และมีคะแนนระดับการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 0.56 คะแนนจากคะแนนเต็มทั้งหมด 1 คะแนน เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงกำกับด้วยวิธีการถดถอยเชิงพหุ พบว่า 1) เพศของคณะกรรมการบริษัทมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 2) การกำกับดูแลกิจการไม่มีผลต่อความสัมพันธ์ระหว่างเพศของคณะกรรมการบริษัทกับการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม และ 3) การกำกับดูแลกิจการมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการดำเนินงานด้านความรับผิดชอบของสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532189 พัทธ์ธีรา เพ่งพิศ.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.