Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73583
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Decha Thapanya | - |
dc.contributor.advisor | Siripen Traichaiyaporn | - |
dc.contributor.advisor | Chalobol Wongsawad | - |
dc.contributor.author | Terdthai Buddhanurak | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-08T15:07:26Z | - |
dc.date.available | 2022-07-08T15:07:26Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73583 | - |
dc.description.abstract | The Nan River in Tung Chang and Chiang Klang districts in Nan province, Northern Thailand is the one of aquatic habitat containing high diversity of caddisfly. This research was conducted in order to survey and collect the data about adult caddisflies, Kai algae and environmental factors along the Nan River in 4 villages (Ban Pa Pueai, Ban Don Sop Puea, Ban So Den Phatthana and Ban Tuet Villages). Each village had 2 selected sampling sites so the total of sampling sites was eight. The total of 15,513 specimens was caught monthly from January 2017 to December 2018, by portable light traps. Seventy-two species in 10 families and 25 genera were identified. Family Hydropsychidae was the most abundant and common species in distribution and occurrence, represented by 46% of all the identified species followed by Leptoceridae (31%) and Ecnomidae (6%) and five other minor families (totaling 17%). Potamyia johansoni in family Hydropsychidae was a new record species for Thailand. The diversity in the hot and cool seasons was higher than in the rainy season and was higher in upper river reaches than in lower river reaches. The species numbers in two districts were approximately similar but the types of species were different. The study about their distribution found that 11 species were caught in only one site and the others (61 species) were caught in 2-8 sites. The occurrence of 64 species showed that they occurred only in 3 months per year in adult stage, whilst 8 species occurred in 4 to 12 months. Kai algae in the Nan River were in genera Cladophora and Rhizoclonium. Kai algae blooming period was in cool season until hot season (November to March of next year). Average percentages of Kai algae coverage in 8 sampling sites were 0.48 to 56.21% per 1 m2 among the 8 sites. The coverage was the highest in cool season, especially in open areas of agricultural and urban areas. The differences in the monitored environmental factors (air temperature, water temperature, relative air humidity in evening, relative air humidity in morning, nitrate, ammonia, orthophosphate, turbidity, water hardness, dissolved oxygen and biochemical oxygen demand) were not significant among the 8 sites. The values of pH, electrical conductivity, total dissolved solids and water velocity were significant difference (p<0.05). This research indicated that the adult caddisflies, Kai algae and some environmental factors were in relationship significantly (p<0.05), but only one caddisfly species related with the change of Kai algae coverage. All environmental factors depended on natural season change as main impact by 2-years monitoring. Furthermore, the river reaches of Nan River in this research had low disturbance from human activities and were suitable for diversity conservation and be an important natural resource for learning in future. | en_US |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chiang Mai : Graduate School, Chiang Mai University | en_US |
dc.title | Diversity, distribution and occurrence of adult Caddisflies along the Nan river in Nan province and Their Relationship to the Presence of Macroalgae | en_US |
dc.title.alternative | ความหลากหลาย การกระจายและการอุบัติของกลุ่มแมลงหนอนปลอกน้ำตัวเต็มวัยตามแม่น้ำน่านภายในจังหวัดน่านและความสัมพันธ์กับการปรากฏของสาหร่ายขนาดใหญ่ | en_US |
dc.type | Thesis | - |
thailis.controlvocab.thash | Caddisflies -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.thash | Cladophora -- Thailand, Northern | - |
thailis.controlvocab.thash | Algae | - |
thesis.degree | doctoral | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | แม่น้ำน่านในอำเภอทุ่งช้างและเชียงกลางของจังหวัดน่านที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือของประเทศไทยเป็นหนึ่งในแหล่งที่อยู่อาศัยของกลุ่มแมลงหนอนปลอกน้ำซึ่งมีความหลากหลายสูง การศึกษานี้ได้ทำการสำรวจและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับแมลงหนอนปลอกน้ำระยะตัวเต็มวัยและสาหร่ายขนาดไกรวมถึงปัจจัยสิ่งแวดล้อมของแม่น้ำน่านในพื้นที่ 4 หมู่บ้าน ประกอบด้วยหมู่บ้านป่าเปื่อย หมู่บ้านดอนสบเปือ หมู่บ้านส้อเด่นพัฒนา และหมู่บ้านตึ้ด ในแต่ละหมู่บ้านกำหนดจุดเก็บตัวอย่างจำนวน 2 จุด รวมมีจุดเก็บตัวอย่างทั้งหมด 8 จุด แมลงหนอนปลอกน้ำตัวเต็มวัยจำนวน 15,513 ตัวอย่างได้จากกับดักไฟแบบพกพา โดยทำการดักจับเดือนละครั้ง เริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2560 จนถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2561 สามารถระบุชนิดของแมลงหนอนปลอกน้ำได้ 72 ชนิด จาก 10 วงศ์และ 25 สกุล วงศ์ที่พบจำนวนมากที่สุด รวมถึงมีการกระจายตัวมากที่สุดและปรากฏบ่อยที่สุดตลอดการศึกษาคือ วงศ์ Hydropsychidae ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 46 ของตัวอย่างทั้งหมด รองลงมาคือ วงศ์ Leptoceridac (ร้อยละ 31) และ Ecnomidae (ร้อยละ 6) ตามลำดับ ที่เหลืออีกร้อยละ 17 อยู่ในวงศ์อื่นๆ โดยแมลงหนอนปลอกน้ำ Potanyia johansoni ในวงศ์ Hydropsychidae ถูกพบเป็นครั้งแรกของประเทศไทย ในฤดูร้อนและหนาวเป็นช่วงที่แมลงหนอนปลอกน้ำมีความหลากหลายมากกว่าฤดูฝน และในช่วงลำน้ำตอนบนก็พบความหลากหลายมากกว่าช่วงลำน้ำตอนล่างด้วยเช่นกัน แม้ว่าจำนวนชนิดที่พบในทั้งสองอำเภอจะมีจำนวนใกล้เคียงกัน แต่กลับมีชนิดที่แตกต่างกัน การศึกษาการกระจายของแมลงน้ำปลอกน้ำมี 11 ชนิดเท่านั้นที่พบแค่เพียงจุดเดียวตลอดการศึกษา และอีก 61 ชนิดที่เหลือ สามารถพบได้มากกว่า 1 จุด การปรากฏของแมลงหนอนปลอกน้ำพบ 64 ชนิดมีการปรากฎเพียง 3 เดือนต่อปี ในระยะตัวเต็มวัย ในขณะที่อีก 8 ชนิดสามารถพบได้ตั้งแต่ 4 เดือนขึ้นไปจบถึงสามารถพบได้ตลอดทั้งปี สาหร่ายไกที่พบในแม่น้ำน่านมีอยู่ 2 สกุลคือ Cladophora และ Rhizoclonuim ฤดูหนาวเป็นช่วงที่เหมาะสมต่อการเจริญของสาหร่ายกลุ่มนี้และสามารถเจริญได้ไปจนถึงช่วงฤดูร้อนของแต่ละปี ไดยเริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายนจนถึงเดือนมีนาคมค่าเฉลี่ยการปกคลุมพื้นท้องน้ำของสาหร่ายไกใน 8 จุด คำนวณได้ร้อยละ 0.48 ถึง 56.21 ต่อตารางเมตร การปกคลุมวัดได้สูงสุดในฤดูหนาว ซึ่งพบได้ในจุดที่เป็นบริเวณเปิดโล่งตามพื้นที่การเกษตรและเขตชุมชน จากการตรวจวัดปัจจัยสิ่งแวดล้อมใน 8 จุด พบปัจจัยที่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ได้แก่ อุณหภูมิ อากาศ อุณหภูมิน้ำ ความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศทั้งช่วงเย็นและช่วงเช้า ปริมาณไนเตรท แอมโมเนีย ออร์โธฟอสเฟต ความขุ่นของน้ำ ปริมาฌออกซิเจนในน้ำ และปริมาณการใช้ออกซิเจนในกระบวนการทางชีวเคมี ส่วนค่า pH ค่าการนำไฟฟ้า ปริมาณของแข็งละลายน้ำ และความเร็วกระแสน้ำมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ทำการศึกษามีความสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศตามฤดูกาล ผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแมลงหนอนปลอกน้ำกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมพบว่า จำนวนตัวของ Macrostemum floridum M. dorhni Pseudoleptonema quinquefasciatum และ Stenopsyche griseipennis มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในเชิงบวกกับอุณหภูมิอากาศ ค่า pH ค่าการนำไฟฟ้าและปริมาณของแข็งละลายน้ำ ตรงกันข้ามกับปัจจัยอีกกลุ่มที่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบ ได้แก่ ค่าความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศทั้งช่วงเย็นและช่วงเช้าปริมาณไนเตรท ปริมาฌออกซิเจนละลายน้ำ ปริมาณการใช้ออกซิเจนในกระบวมการทางชีวเคมีและความเร็วกระแสน้ำ ด้านความสัมพันธ์ระหว่งสาหร่ายไกกับแมลงหนอนปลอกน้ำพบว่า มีเพียงจำนวนตัวของตัวเมี่ยชนิด M. dohrni เท่านั้นที่มีความสัมพันธ์ในเชิงลบกับการปกคลุมของสาหร่ายไกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) บ่งบอกถึงช่วงที่มีการลดลงของสาหร่ายไกจะพบแมลงหนอนปลอกน้ำชนิดนี้มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น แต่การปกคลุมของสาหร่ายไกกลับมีความสัมพันธ์กับความกระด้างของน้ำในเชิงบวก จากผลการศึกษาทั้งหมดแสดงให้เห็นว่า สิ่งมีชีวิตทั้งสองกลุ่มกับปัจจัยสิ่งแวดล้อมบางประการมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) แต่มีแมลงหนอนปลอกน้ำบางชนิดเท่านั้นที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ในระยะตัวเต็มวัย ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่ทำการศึกษาได้รับอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลเป็นหลัก ซึ่งในการศึกษาทั้งสองปีพบว่าทุกปัจจัยมีการเปลี่ยนแปลงสอดคล้องกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้แม่น้ำน่านในช่วงลำน้ำที่ศึกษายังมีการเปลี่ยนแปลงสภาพสิ่งแวดล้อมค่อนข้างน้อยตลอดการศึกษา แสดงให้เห็นถึงพื้นที่ดังกล่าวได้รับผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษข์ค่อนข้างน้อยและเหมาะแก่การเป็นแหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อใช้ในการศึกษาต่อไปในอนาคต สำหรับการเป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของประเทศไทย | en_US |
Appears in Collections: | SCIENCE: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
580551074 เทอดไท พุทธานุรักษ์.pdf | 7.86 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.