Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuban Pornwiang-
dc.contributor.advisorTharn Thongngok-
dc.contributor.advisorYongyouth Yaboonthong-
dc.contributor.authorPiyawan Chandrabhanandaen_US
dc.date.accessioned2022-07-06T15:09:18Z-
dc.date.available2022-07-06T15:09:18Z-
dc.date.issued2021-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73539-
dc.description.abstractThis research aims to create, examine and evaluate the model of the Faculty Office's operational system development by applying the Lean concept: Step 1 is divided into 1.1) Study the current condition, data were analyzed by questioning and collected from personnel of the Faculty of Mass Communication, Chiang Mai University, as a case study of 60 people, 1.2) Study the guidelines by interviewing 5 best practice sources; Step 2 is divided into 2.1) Use the information from step 1.2 to design and draft a model, 2.2) Examine the draft model by Focus Group Discussion from 7 experts, and Step 3, evaluate the model. The personnel of the case study consisted 60 employees. The results showed that 1) The overall current condition is at a high level, the highest mean was for the executive (faculty secretary), and the guidelines by interviewing best practice sources provide the information in a consistent information and the operating system guidelines are that workload should be reduced, work practices adjusted keeping the goal in mind, unnecessary practices reduced, 2) The modeling results consisted of 7 components, namely Context, Objective, Input, Process, Output/Outcome, No Wastes, and Feedback 3) Overall feasibility and usefulness evaluation results were at a most levelen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleA model of operational system development of university for faculty offices applying the lean concepten_US
dc.title.alternativeรูปแบบการพัฒนาระบบปฏิบัติการของสำนักงานคณะในมหาวิทยาลัยด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashManagement-
thailis.controlvocab.thashOrganizational effectiveness-
thailis.controlvocab.thashLean manufacturing-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง รูปแบบการพัฒนาระบบปฏิบัติการของสำนักงานคณะในมหาวิทยาลัยด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีน มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้าง ตรวจสอบ และประเมินรูปแบบการพัฒนาระบบปฏิบัติการของสำนักงานคณะด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีน โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 มี 2 ขั้น ได้แก่ 1.1) การศึกษาสภาพปัจจุบันของระบบปฏิบัติการสำนักงานคณะด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีน โดยการสอบถามจากพนักงานมหาวิทยาลัย สังกัดคณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ใช้เป็นกรณีศึกษา จำนวน 60 คน 1.2) การศึกษาแนวทางด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ทรงคุณวุฒิที่เป็น Best Practice จำนวน 5 คน ขั้นตอนที่ 2 มี 2 ขั้น ได้แก่ 2.1) การสร้างรูปแบบการพัฒนาระบบปฏิบัติการของสำนักงานคณะด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนโดยผู้วิจัยได้นำข้อมูลที่ได้จากขั้น 1.2 มาออกแบบและยกร่างรูปแบบด้วยตนเอง 2.2) การตรวจสอบร่างรูปแบบโดยการสนทนากลุ่ม จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน และขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบใช้การสอบถามจากพนักงานมหาวิทยาลัย สังกัดคณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ใช้เป็นกรณีศึกษา จำนวน 60 คน ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ยมากที่สุดด้านผู้บริหาร (เลขานุการคณะ) และแนวทางของระบบปฏิบัติการสำนักงานคณะด้วยการประยุกต์ใช้แนวคิดลีนพบว่า ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ข้อมูลในทิศทางที่สอดคล้องกัน โดยด้านภาระงานควรลดขั้นตอน ปรับวิธีปฏิบัติงาน คำนึงถึงเป้าหมาย ลดแนวปฏิบัติที่ไม่จำเป็น 2) ผลการสร้างรูปแบบมี 7 องค์ประกอบได้แก่ ด้านบริบท ด้านวัตถุประสงค์ ด้านปัจจัยนำเข้า ด้านกระบวนการ ด้านผลผลิตและผลลัพธ์ ด้านผลย้อนกลับ และด้านการขจัดความสูญเปล่า (No Wastes) ผลการตรวจสอบความเหมาะสมโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) ผลการประเมินรูปแบบด้านความเป็นไปได้และด้านความเป็นประโยชน์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580251005 ปิยะวัน จันทราภานนท์.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.