Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73535
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSila Kittiwachana-
dc.contributor.advisorJaroon Jakmunee-
dc.contributor.advisorSulawan Kaowphong-
dc.contributor.authorChanida Krongchaien_US
dc.date.accessioned2022-07-06T10:53:24Z-
dc.date.available2022-07-06T10:53:24Z-
dc.date.issued2020-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73535-
dc.description.abstractLongan (Dimocarpus longan Lour.) is a valuable tropical fruit that shortly storage times after harvesting. Therefore, most of the longan fruit should be preserved as dried longan for longer consumption period. Sodium metabisulfite has been commonly used as additive chemical to slow down the spoilage process of the dried longan and to prevent the gradual discoloration. Nevertheless, the excessive use of this sulfiting agent can result in allergic symptoms, especially for sulfite-sensitive people. In this research, a colorimetric multi-sensor array strip was fabricated to determine the concentration of sodium metabisulfite residual in dried longan. The detection was based on reactions of a series of colorimetric reagents including three different Fuchsine compounds and an Ellman’s reagent. The dilution series of each reagent including the mixed reagents, were optimized to expand the calibration range of the developed strip. As a result, the maximum change of the reagent colors was observed within 3 min after the reactions. The content of metabisulfite ion could be approximated by comparing the color of the sensors using naked eye observation. To perform a quantitative analysis, the image of the strip was captured using a commercial scanner, and it was converted into an RGB color mode to be digitally analyzed by chemometrics. Using partial least square (PLS) regression, the most effective calibration range (5.00–250.00 mg/kg) provided R2 and Q2 values of 0.994 and 0.908, respectively. The limits of detection and quantitation were 5.48 and 16.60 mg/kg, which were sensible for the detection of the sulfiting agent in dried longan samples. The developed colorimetric strip was applied to determine the concentration of metabisulfite residual in dried longan fruits purchased from local markets in Chiang Mai, Thailand. The results agreed well with the findings obtained from the reference method. The developed strip could be an alternative solution for rapid, simple, and low-cost detection of the sulfiting agent in dried agricultural products, where test results could be instantly obtained without the requirement of any sophisticated analytical instruments. Moreover, the multi-sensor array based on several chemical reactions of the reagents coupled with chemometrics can improve accuracy, selectivity and expand the calibration range when compared to the conventional single sensor.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleDevelopment of colorimetric multi-sensor Arrays for rapid determination of Sodium Metabisulfite in dried Longanen_US
dc.title.alternativeการพัฒนาคัลเลอริเมทริกมัลติเซนเซอร์อาร์เรย์สาหรับการหาริมาณโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์อย่างรวดเร็วในลำไยอบแห้งen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashColorimetric analysis-
thailis.controlvocab.thashLongan -- Drying-
thailis.controlvocab.thashSodium-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractลำไย (Dimocarpus longan Lour.) เป็นผลไม้เขตร้อนที่มีมูลค่าทางเศรฐกิจสูง เนื่องจากผลผลิตลำไยสดที่เก็บเกี่ยวแล้วจะมีอายุการเก็บรักษาที่สั้น ดังนั้นผลผลิตลำไยส่วนใหญ่จึงใช้การถนอมอาหารเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานขึ้น เช่น ลำไยอบแห้ง เป็นต้น สารประกอบโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์จึงถูกนำมาใช้เป็นสารเติมแต่งในอาหาร เพื่อชะลอการเน่าเสียและการเปลี่ยนสีของลำไยอบแห้ง แต่การใช้สารประกอบซัลไฟต์ในปริมาณที่มากเกินไปอาจก่อให้เกิดอาการแพ้ได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ที่มีความไวต่อสารซัลไฟต์เป็นพิเศษ ในงานวิจัยนี้ได้ประดิษฐ์คัลเลอริเมทริกมัลติเซนเซอร์อาร์เรย์ขึ้น เพื่อใช้ในการหาความเข้มข้นของโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ที่ตกค้างอยู่ในลำไยอบแห้ง ตรวจวัดได้โดยใช้การเกิดปฏิกิริยาระหว่างเมตาไบซัลไฟต์กับสารเคมีหลายชนิดประกอบด้วยสารเคมีกลุ่มฟุกซิน 3 ชนิดและเอลล์แมนรีเอเจนท์ และการหาความเข้มข้นที่เหมาะสมของสารเคมีแต่ละชนิด เพื่อขยายช่วงความเข้มข้นในการตรวจวัดของแถบเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้น เวลาที่ให้การเปลี่ยนสีที่มากที่สุดของเซนเซอร์คือ 3 นาที หลังจากการทำปฏิกิริยา ซึ่งสามารถประมาณค่าปริมาณเมตาไบซัลไฟต์ได้ด้วยการเปรียบเทียบค่าความเข้มของแถบสีโดยใช้ตาเปล่านอกจากนี้ยังได้พัฒนาการวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยเทคนิคเคโมเมตริกซ์ โดยรูปของแถบเซนเซอร์จะถูกบันทึกด้วยสแกนเนอร์ที่มีจำหน่ายทั่วไปในท้องตลาด และแปลงให้เป็นสี RGB เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ด้วยวิธี partial least squares (PLS) ผลการวิเคราะห์จากช่วงความเข้มข้นที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด (5.00-250.00 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) มีค่า R2 และ Q2 เท่ากับ 0.994 และ 0.908 ตามลำดับ ความเข้มข้นต่ำที่สุดที่สามารถตรวจวัดได้และเชื่อถือได้ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยวิธีนี้คือ 5.48 และ 16.60 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเพียงพอต่อการตรวจวัดปริมาณสารประกอบซัลเฟอร์ในตัวอย่างลำไยอบแห้ง แถบคัลเลอริเมทริกมัลติเซนเซอร์ที่พัฒนาขึ้นนี้สามารถใช้ในการตรวจวัดปริมาณสารโซเดียมเมตาไบซัลไฟต์ที่ตกค้างอยู่ในตัวอย่างลำไยอบแห้งที่วางจำหน่ายในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยได้ ซึ่งผลการวิเคราะห์ที่ได้มีความสอดคล้องกับผลที่ได้จากการวิเคราะห์ด้วยวิธีมาตรฐาน ทำให้คัลเลอริเมทริกมัลติเซนเซอร์อาร์เรย์ที่พัฒนาขึ้นเป็นการวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบซัลไฟต์ในผลไม้อบแห้งที่รวดเร็วและมีราคาถูก โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือวิเคราะห์ที่มีความซับซ้อน ยิ่งไปกว่านั้นการใช้มัลติเซนเซอร์อาร์เรย์ซึ่งอาศัยพื้นฐานการเกิดปฏิกิริยากับรีเอเจนท์หลายชนิดร่วมกับเทคนิคเคโมเมตริกซ์ ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการวิเคราะห์ทั้งในด้านความถูกต้อง ความจำเพาะของวิธีและการขยายช่วงของการตรวจวัดเชิงปริมาณให้ดีกว่าวิธีที่ใช้เซนเซอร์แบบเดี่ยวen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600555907 ชนิดา ครองไชย.pdf7.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.