Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73515
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรชัย วิสุทธิศักดิ์ | - |
dc.contributor.advisor | กาญจนา โชคถาวร | - |
dc.contributor.author | ธัชชนนท์ กะผอ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-05T10:39:29Z | - |
dc.date.available | 2022-07-05T10:39:29Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73515 | - |
dc.description.abstract | This study aimed to study the economic situation from the longan investment from Chinese investors in Lamphun Province. The research concerns impact farmers in Lamphun Province, where Chinese investors have entered the longan market. The research is based on collecting data from the document and online media and interviewing the longan farmers. It found that the economic condition of longan trade during the season had a significant oversupply of longan production. The longan trading system was controlled by Chinese investors, causing farmers to sell longan produce at a low price. The longan farmers are limited in finding markets to sell longan, making them have to sell longan at a low price. The farmers have to face a high cost of longan plantation with a little profit or loss and eventually stopped making longan plantations. The research found that most longan farmers have not yet adjusted their way of business but still selling longan produce to Chinese investors, with the selling price in line with the market mechanism set by a group of Chinese traders. The farmers adjust their plantation to more off-season longan plantations, although the production cost is higher than the in- season production. Longan farmers changed their way of businesses following the economic development and trade in the longan area in Lamphun province by participating in projects with the government following the government policy. The government issued the policy of establishing a group of longan farmers to produce large plots of 50 members or more. The policy was to help negotiate sales prices with Chinese investors and encourage farmers to have joint management to reduce costs or increase production. The policy encouraged the private sector to promote marketing, research and development of agricultural innovations that result in more stable farmers' incomes. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจจากการลงทุนล้งลำไยของชาวจีนในจังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | An Economic change caused by the longan chinese investment in Lamphun Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | - |
thailis.controlvocab.thash | ลำไย -- การปลูก-- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | ลำไย -- ต้นทุนและประสิทธิผล | - |
thailis.controlvocab.thash | ลำไย -- การค้า -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | เกษตรกร -- ลำพูน | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะทางเศรษฐกิจจากการลงทุนล้งลำไยของชาวจีนในจังหวัดลำพูนต่อเกษตรในพื้นที่ และเพื่อศึกษาผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการเข้ามาตั้งล้งลำไยของนักลงทุนจีน รวมทั้งแนวทางการปรับตัวของเกษตรกรเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าลำไยในพื้นที่จังหวัดลำพูน โดยการเก็บรวบรวมการศึกษาจากเอกสาร สื่อออนไลน์และการสัมภาษณ์ เกษตรกรผู้ปลูกลำไยกลุ่มตัวอย่าง พบว่าสภาวะทางเศรษฐกิจของการค้าขายลำไยในช่วงฤดูกาลมีผลผลิตลำไยล้นตลาดเป็นอย่างมาก และสภาวะการค้าขายถูกควบคุมราคารับซื้อผลผลิตลำไยโดยนักลงทุนจีน เป็นการกดราคาทำให้ต้องขายผลผลิตลำไยในราคาถูก และเกษตรกรผู้ปลูกลำไยมีความลำบากในการหาตลาดเพื่อขายผลผลิตลำไย ทำให้ต้นทุนในการทำสวนลำไยสูง ได้กำไรน้อยหรือส่งผลให้ขาดทุนในบางครั้ง และทำให้เลิกทำสวนลำไยในที่สุด พบว่าเกษตรกรผู้ปลูกลำไยส่วนใหญ่ยังไม่มีการปรับตัวอย่างชัดเจน ยังคงขายผลผลิตลำไยให้กับล้งลำไยของนักลงทุนจีนโดยให้ราคาขายผลผลิตเป็นไปตามกลไกของตลาด และเกษตรกรผู้ปลูกลำไยบางส่วนมีการปรับตัวด้านการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตในการทำสวนลำไย รวมทั้งปรับมาทำสวนลำไยนอกฤดูมากขึ้น ถึงแม้ว่าต้องใช้ต้นทุนในการผลิตสูงกว่าการผลิตในฤดู เกษตรผู้ปลูกลำไยมีการปรับตัวตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจการค้าลำไยในพื้นที่จังหวัดลำพูน เข้าร่วมโครงการกับภาครัฐตามนโยบายการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกลำไย โดยการรวมกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไยทำการผลิตลำไยแปลงใหญ่ มีสมาชิก 50 คนขึ้นไป เพื่อต่อรองราคาขายกับนักลงทุนจีน และเพื่อต้องการสนับสนุนให้เกษตรกรมีการบริหารจัดการร่วมกันนำไปสู่การลดต้ทุน เพิ่มผลผลิต โดยมีภาคเอกชนเข้ามาส่งเสริมด้านการตลาด การวิจัย พัฒนานวัตกรรมด้านการเกษตรที่ส่งผลทำให้รายได้ของเกษตรกรมีเสถียรภาพมากขึ้น | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
600432019 ธัชชนนท์ กะผอ.pdf | 1.2 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.