Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปรานอม ตันสุขานันท์-
dc.contributor.authorทนวินท วิจิตรพรen_US
dc.date.accessioned2022-07-05T10:23:10Z-
dc.date.available2022-07-05T10:23:10Z-
dc.date.issued2021-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73514-
dc.description.abstractThis research aims to identify the appropriate city development using the participatory procedure for the medium size-old towns, the case study of Sawankhalok city, Sukhothai. An action research method has been used to create the participatory procedure of the Sawankhalok city development; to study the procedure's relative factors; and to suggest the appropriate city development. Three factors relating to the participatory model of Sawankhalok city development have been studied and analyzed including the development' s objective, the development' s stakeholder, and the development procedure. The result contributes to Sawankhalok development's participatory model suggestion can be applied with the city development planning of other medium size-old towns in Thailand in the future. In the development's objective study dimension, By review data of Economic, Social and Environment of city compile with opinion from active citizen true participatory process. The findings show that Economics is the most significant factor that is affectable to other factors. The suggestion for economic development is creating new economic opportunities based on cultural capital and plenty of environment. In the development's stakeholder study dimension, the stakeholders related to city development were studied and analyzed. It was found that the participation level in city development between the private and public sector nowadays is still at the level of information and Consulting. Means, the public has low participating in city development. The suggestion focuses on increasing the participatory level including the relevant level and the empowerment suit to the situation. The development planning implementation should be transformed from top-down planning to Co-creation, co-thinking, co-planning, co-operation, and co-benefit by a variety and diverse group of public stakeholders. In the development procedure study dimension, by comparing the traditional development process in the city with planning process principle. The finding reveals that the city development process mostly is individual time to time events. Therefore, there is a lack of momentum opportunity to increase the development in various aspects. The suggestion is elevation to the implementation of a system based on the principle of the Planning Process. Therefore, the development can be continued to develop and maximize the benefits to develop the city to livable and sustainable city.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการค้นหารูปแบบการมีส่วนร่วมที่เหมาะสมในการวางแผนพัฒนาเมืองเก่าขนาดกลาง กรณีศึกษาเมืองสวรรคโลกen_US
dc.title.alternativeIn searching for appropriate public participation in the medium size old city planning process in the case of Sawankhalok Cityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการฟื้นฟูเมือง -- สวรรคโลก (สุโขทัย)-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเมือง -- สวรรคโลก (สุโขทัย)-
thailis.controlvocab.thashผังเมือง -- สวรรคโลก (สุโขทัย)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นหารูปแบบการมีส่วนร่วมที่เหมาะสมในการวางแผนพัฒนาเมืองเก่าขนาดกลาง กรณีศึกษาเมืองสวรรคโลก ดำเนินการโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Research) เพื่อสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองสวรรคโลกพร้อมกับการทำความเข้าใจองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องนำไปสู่ข้อเสนอในการสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองสวรรคโลกและเมืองขนาดกลาง ในสังคมไทยที่มีบริบทใกล้เคียงกันในอนาคต จากการศึกษาพบว่าองค์ประกอบในการพัฒนาเมือง กรณีศึกษาเมืองสวรรคโลก ประกอบด้วยปัจจัยที่เกี่ขวข้อง 3 ด้าน คือ ปัจจัยด้านเป้าหมายการพัฒนา ปัจจัยด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาและปัจจัยด้านกระบวนการดำเนินการพัฒนาในด้านเป้าหมายการพัฒนา ดำเนินการศึกษาโดยการวิเคราะห์สถานการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในเมือง (Key Issue Identification and Analysis) จากข้อมูลเชิงสถิติด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมของเมือง ร่วมกับข้อมูลความคิดเห็นของประชาชนที่เกิดจากกระบวนการมีส่วนร่วม ประกอบกับแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง พบว่า ประเด็นที่มีอิทธิพลสูงสุดและเป็นรากฐานที่ส่งผลกระทบต่อประเด็นอื่นๆ คือ ด้านเศรษฐกิจ ข้อเสนอแนะในการสร้างการพัฒนาเศรษฐกิจคือการสร้างโอกาสด้านเศรษฐกิจใหม่บนทุนด้านวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมที่มีความสมบูรณ์ ในด้านผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ดำเนินการโดยการวิเคราะห์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมือง (Stakeholder Analysis) ด้านอำนาจ ความสนใจ ความสัมพันธ์ และบทบาทของกลุ่มต่างๆ พบว่าระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองในปัจจุบัน ภาคเอกชน และประชาชนยังอยู่ในระดับการให้ข้อมูลข่าวสาร และการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กล่าวคือมีบทบาทในการพัฒนาเมืองค่อนข้างน้อย โดยข้อเสนอแนะให้ส่งเสริมการมีส่วนร่วมให้อยู่ในระดับที่สูงขึ้นทั้งในระดับการเกี่ยวข้องและการเสริมอำนาจตามความเหมาะสมของสถานการณ์ด้านการดำเนินการกิจกรรมการพัฒนาศึกษาโดยการเปรียบเทียบกิจกรรมที่เกิดขึ้นในอดีตกับ กับหลักการขั้นตอนการวางแผนพัฒนา (Planning Process)โดยมีข้อเสนอแนะ คือ ควรเปลี่ยนจากการสร้างแผนพัฒนาจากส่วนกลางเป็นกระบวนการร่วมสร้าง (Co Creation) คือ การส่งเสริมให้เกิดการมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินการ และร่วมรับผลประโยชน์โดยกลุ่มผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่หลากหลายยิ่งขึ้น ด้านกระบวนการดำเนินการพัฒนาปัจจุบันอยู่ในรูปแบบการจัดกิจกรรมเป็นครั้งๆ ทำให้เสียโอกาสในการสร้างแรงส่งของการพัฒนาในประเด็นต่างๆ ควรยกระดับสู่การดำเนินการที่เป็นระบบตามหลักการวางแผนพัฒนา (Planning Process) เพื่อให้กิจกรรมการพัฒนาเป็นกระบวนการที่มีความต่อเนื่องและเกิดประ โยชน์สูงสุดในการพัฒนาสู่ความเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
591731002 ทนวินท วิจิตรพร.pdf10.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.