Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73512
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรนัส เสริมบุญสร้าง | - |
dc.contributor.author | เอกวัฒน์ ลีวัฒนกุล | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-05T10:05:55Z | - |
dc.date.available | 2022-07-05T10:05:55Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73512 | - |
dc.description.abstract | The study is conducted to explore mindfulness and the decision process of food consumption of diabetic patients in Chiang Mai Province. The population in this study was the patients with diabetes living in Chiang Mai Province. As the number of the population was unknown, the Cochran formula was used to calculate an ideal sample size of 400. At the beginning of collecting data, a questionnaire was utilized, but later an online one was used instead to collect the data from patients with type 2 diabetes mellitus due to the Covid-19 pandemic. The sample group was selected by convenience sampling and questions were used to have only patients with type 2 diabetes mellitus. After that, the data acquired was analyzed by descriptive statistics including the frequency, percentage, mean, and by inferential statistics consisting of Multiple Regression Analysis to test the relationship between factors affecting food consumption behaviors and Simple Regression Analysis to test the relationship between food consumption behaviors and behaviors after food consumption concerning satisfaction towards food consumption and health. The study revealed that the majority of the questionnaire respondents were married women aged between 56 and 65 years. Their education level was lower than lower secondary education and their average monthly income was less than 10,000 baht. They had been living with diabetes for six to ten years and most of them had also had hypertension. The information that the respondents were informed about diabetes at a high level was "Patients should control their diet to keep their blood sugar in a normal range." The sources or persons having an influence on the respondents concerning their diet control was ''Advice from doctors and nurses makes you interested in controlling your diet in order that your blood sugar level is not higher than normal." Moreover, the respondents had the intension to comply with the self-care framework at a high level or relatively often when they had a meal. Concerning the results from Multiple Regression Analysis, it showed that influential factors or persons in diet control had an effect on food consumption behavior procedure regarding food consumption behaviors in the following subfactors. They were "'Advice from doctors and nurses makes you interested in controlling your diet in order that your blood sugar level is not higher than normal."; the awareness procedure of the problem affecting diabetic symptoms did not affect food consumption behaviors, and the mindfulness factor in terms of awareness had no effect on food consumption behaviors. On the other hand, the mindfulness factor in terms of acceptance affected food consumption behaviors in the following subfactor, "'I did not try to make myself busy so that I can think and feel." Regarding the results from Simple Regression Analysis, it showed that the food consumption behavior factor had an effect on the behavioral procedure after food consumption in terms of satisfaction towards food consumption and health in the following subfactors. They were "Avoid alcoholic drinks, such as liquor and beer.", "Have three regular meals a day.", and "Have regular mealtimes or at nearly the same time for every meal." | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การมีสติและกระบวนการตัดสินใจในการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานในจังหวัดเชียงใหม่ | en_US |
dc.title.alternative | Mindfulness and decision process of food consumption of diabetics in Chiang Mai Province | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | เบาหวาน -- ผู้ป่วย -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | เบาหวาน -- ผู้ป่วย -- การดูแล | - |
thailis.controlvocab.thash | บริโภคนิสัย | - |
thailis.controlvocab.thash | การกำหนดอาหาร | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีสติและกระบวนการตัดสินใจในการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานในจังหวัดเชียงใหม่ ประชากรที่ทำการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน จึงกำหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณแบบไม่ทราบจำนวนประชากรของคอแครน จำนวน 400 คน โดยช่วงแรกเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม เนื่องจากมีการระบาดของโรค Covid-19 ในช่วงของการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยช่วงที่ 2 ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลแบบออนไลน์เพื่อให้เข้าถึงผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก และมีการคัดกรองเฉพาะผู้ป่ายโรคเบาหวานชนิดที่ 2 โดยใช้คำถามในการคัดกรอง หลังจากนั้นนำมาประมวลผล โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปโดยสถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วยความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย รวมถึงสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคุณ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมด้านการบริ โภคอาหารและวิเคราะห์สมการถดถอยอย่างง่าย เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารมีผลต่อพฤติกรรมหลังการบริโภคอาหาร ในเรื่องความพึงพอใจต่อการบริโภคอาหารและสุขภาพ ผลการศึกษาการมีสติและกระบวนการตัดสินใจในการบริโภคอาหารของผู้ป่วยโรคเบาหวานในจังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีช่วงอายุ 56-65 ปี สถานภาพสมรส มีระดับการศึกษาต่ำกว่าชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รายได้เฉลี่ยต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท ระยะเวลาที่เป็นโรคเบาหวานอยู่ในช่วง 6-10 ปี และส่วนใหญ่มีโรคความดัน โลหิตสูงที่เป็นร่วมกับโรคเบาหวาน ผู้ตอบแบบสอบถามได้ทราบถึงข้อมูลความรู้ความเข้าใจที่มีเกี่ยวกับโรคเบาหวานในระดับสูงคือ ผู้ป่วยควรควบคุมอาหารเพื่อให้ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ผู้ตอบแบบสอบถามมีแหล่งหรือบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมอาหารคือ คำแนะนำจากแพทย์และพยาบาล ทำให้ท่านสนใจที่จะควบคุมอาหารเพื่อไม่ให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ และผู้ตอบแบบสอบถามมีความตั้งใจในการปฏิบัติตนตามหลักการดูแลตนเองในระดับมากหรือทำก่อนข้างบ่อยครั้งเมื่อรับประทานอาหาร ผลที่ได้จากการวิเคราะห์หาสมการถดถอยเชิงพหุคุณคือ ปัจจัยแหล่งหรือบุคคลที่มีอิทธิพลต่อการควบคุมอาหารมีผลต่อขั้นตอนพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ในเรื่องพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารจากปัจจัยย่อย คำแนะนำจากแพทย์และพยาบาล ทำให้ท่านสนใจที่ะควบคุมอาหารเพื่อไม่ให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ ขั้นตอนการตระหนักถึงปัญหาที่ทำให้มีผลกระทบต่ออาการของโรคเบาหวานไม่มีผลต่อพฤติกรรมด้านการ บริโภคอาหาร ปัจจัยทางด้านสติในด้านการตระหนักรู้ไม่มีผลต่อพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร แต่ปัจจัยทางด้านสติในด้านการยอมรับมีผลต่อพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหาร จากปัจจัยย่อย ฉันไม่พยายามทำตัวให้ยุ่งๆ เพื่อให้ความคิดหรือความรู้สึกเข้ามาในใจและผลที่ได้จากการวิเคราะห์หาสมการถดถอยอย่างง่ายคือ ปัจจัยในเรื่องพฤติกรรมด้านการบริโภคอาหารมีผลต่อขั้นตอนพฤติกรรมหลังการบริโภคอาหารในเรื่องความพึงพอใจต่อการบริโภคอาหารและสุขภาพจากปัจจัยย่อย หลีกเลี่ยงดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์เลือกรับประทานอาหารมื้อหลักครบ 3 มื้อทุกวันเป็นประจำ และเลือกรับประทานอาหารตรงเวลาหรือเวลาใกล้เคียงกันทุกมื้อเป็นประจำ | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591532269 เอกวัฒน์ ลีวัฒนกุล.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.