Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73510
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นฤมล กิมภากรณ์ | - |
dc.contributor.author | ปุณธิดา จันทเลิศ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-05T09:49:08Z | - |
dc.date.available | 2022-07-05T09:49:08Z | - |
dc.date.issued | 2021-03 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73510 | - |
dc.description.abstract | This independent study aimed to examine electronics marketing mix affecting bank users in Chiang Mai province towards transactions performed through the Internet Banking. Samples of this study were specified to the total of 300 consumers who were the early working age population aged 20-30 years old, the middle working age population aged 31-40 years old, and the late working age population aged 41-60 years old: each of which consisted of 100; and who used to perform transactions through the Internet Banking. Statistics being applied in this study included percentage and means as well as the F-test to compare the difference of mean values at 95% of confidence level. Hereafter were presented the studied results. The findings revealed that most respondents were male with an income of 15,001-30,000 Baht. They graduated in Bachelor's degree and worked as employee of a private company. They learned about the transactions performed through the Internet Banking from social media or websites. Transactions that they mostly performed were categorized in the saving service type (money transfer; balance check; and cheque). In a month, they performed banking transactions at the frequency of 3 times or less and the transactions that all of them performed included balance check and intra- and inter-bank transfers. Maximum amount for their transaction under the Internet Banking was 3,001-6,000 Baht. Followings were shown the top element of each electronics marketing mix factor that affected bank users in Chiang Mai province towards transactions performed through the Internet Banking. In product factor, it was SMS/Email notification being sent to a customer after a transaction was performed. In price factor, it was lower fees of a transaction performed through the Internet Banking when comparing to the fees of a transaction performed through other channels. In place factor, it was the accessibility to services at everywhere with Internet access. In promotion factor, it was the ability to send inquiries through Internet Banking channel at any time. In privacy protection factor, it was the use of high technology for Internet Banking continuously. In individual service factor, it was the availability of on-site staff who clearly provided service guidance in detailed at a bank's branch. According to the F-test, results of the analysis on statistical differences among the different groups of respondent at 95% of confidence level revealed that privacy protection and individual service factors indifferently affected the decision-making of all three groups of working age banking users towards performing transactions through the Internet banking at the statistical significance. In the meanwhile, the four factors i.e. product, price, place, and promotion differently affected the decision-making of all three groups of working age banking users towards performing transactions through the Internet banking at the statistical significance. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | ส่วนประสมการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อผู้ใช้บริการธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่ในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต | en_US |
dc.title.alternative | Electronics marketing mix affecting bank users in Chiang Mai Province towards use internet banking | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | พฤติกรรมผู้บริโภค -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ธนาคารและการธนาคาร -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | ธนาคารทางอินเตอร์เน็ต -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | สถาบันการเงิน -- เชียงใหม่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อผู้ใช้บริการธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่ในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต โดยประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือผู้บริโภควัยทำงานตอนต้นที่มีอายุระหว่าง 20-30 ปี วัยทำงานตอนกลางที่มีอายุระหว่าง 31 -40 ปี และวัยทำงานตอนปลาย ที่มีอายุระหว่าง 41 – 60 ปีกลุ่มละ 100 ราย รวม 300 รายและเป็นผู้ที่เคยใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตมาก่อน โคยสถิติที่ใช้ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการเปยบเทียบความแตกต่างของคำเฉลี่ย F-1es! ณ ระดับความเชื่อมั่นที่95% ซึ่งแสดงผลการศึกษาคังต่อไปนี้ จากการศึกษาพบว่าสู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย รายได้ 5,001-30,000 บาท การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน สื่อที่ทำให้รู้จักการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต คือ สั่งคมออนไลน์ หรือ เว็บไซด์ต่างๆ โดยใช้งานธุรกรรมทางด้านเงินฝาก (โอนเงิน ตรวจสอบยอดเงิน เช็ค) เป็นส่วนใหญ่ ซึ่งจะใช้บริการเดือนละ 3 ครั้งหรือน้อยกว่า และผู้ตอบแบบสอบถามทั้งหมดจะใช้บริการตรวจสอบยอดเงินคงเหลือและบริการโอนเงินระหว่างบัญชีทั้งภายในธนาคาร และระหว่างธนาคาร โดยมียอดเงินสูงสุดที่เคยใช้บริการผ่านธนาคารออนไลน์ คือ 3,001-6,000 บาท การศึกษายังพบว่าปัจจัยย่อยส่วนประสมการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ ที่มีผลต่อผู้ใช้บริการธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่ในการใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ต อันดับแรกในแต่ละด้านคือ ด้านผลิตภัณฑ์ ได้แก่ มี SMS / Email แจ้งให้ทราบหลังการใช้บริการ ด้านราคาได้แก่ การทำธุรกรรมการเงินผ่านธนาคารออนไลน์ มีค่าใช้จ่ายต่ำกว่าช่องทางอื่น ด้านการจัดจำหน่าย ได้แก่ ใช้บริการได้ทุกที่ที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ด้านการส่งเสริมการตลาด ได้แก่ สามารถสอบถามข้อมูลผ่านธนาคารออนไลน์ได้ทันที ด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว ได้แก่ มีการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาให้บริการในธนาคารออนไลน์อย่างต่อเนื่อง และด้านการให้บริการส่วนบุคคล ได้แก่ มีพนักงานคอยให้คำแนะนำการใช้บริการอย่างละเอียดชัดเจนที่สาขาที่ใช้บริการ เมื่อวิเคราะห์ความแตกต่างทางสถิติด้วย F- test ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95% พบว่าปัจจัยด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว และการให้บริการส่วนบุคคล มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์น็ตของผู้บริโภควัยทำงานทั้ง 3 กลุ่ม ไม่แตกต่างกับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่ 4 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านช่องทางอินเตอร์เน็ตของผู้บริโภควัยทำงานทั้ง 3 กลุ่มแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย และ ด้านการส่งเสริมการตลาด | en_US |
Appears in Collections: | BA: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
591532158 ปุณธิดา จันทเลิศ.pdf | 18.81 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.