Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73501
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนฤมล กิมภากรณ์-
dc.contributor.authorนนท์นภัสร์ เหล็กแก้วจำรัสen_US
dc.date.accessioned2022-07-04T10:51:41Z-
dc.date.available2022-07-04T10:51:41Z-
dc.date.issued2020-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73501-
dc.description.abstractThis study aimed at investigating the levels and differences of high school student’s perception towards brand identity of Faculty of Agriculture, Chiang Mai University. The study collected data from a sample of science-mathematics major students from 19 schools in 9 upper-north provinces. The brand identity used in this study was based on the concept of “Kapferer's Brand Identity Prism” on the six elements of brand identity. The results of the study showed that all the 570 samples, with 404 female students, and 166 male students. Most of whom were 16 years of age, studying in Grade 4 with a GPA of 3.51 - 4.00. Attended Government school. The occupation of parents were self-employed, Officialdom and State enterprise employees. Family monthly income rangeed from 10,001 - 20,000 baht. Most of the sample did not know the seniors who were studying at the Faculty of Agriculture and there were no seniors who studied at the Faculty of Agriculture comming to advice about the admission to the Faculty of Agriculture at the school. Most of them were not interested in attending the Faculty of Agriculture, even though there were scholarships being offered. Results of Exploratory Factor Analysis for perceptions of high school students towards Brand Identity Faculty of Agriculture Chiang Mai University which has 7 components: Component 1: Organizational Culture and Self-perception of Personnel in the Organization, Component 2: Physique : the Appearance, Component 3: the Ability to Reflect the Brand Identity. Component 4: Personality, Component 5: Relationship with Brand, Component 6: Physique : External Communication, Component 7: Physique - Appearance Value. Mean of 3 elements being used to analyze the perception of an educational institution for Modern Agricultural Science of Faculty of Agriculture, Chiang Mai University. First element is to produce graduates, second is to conduct excellent researches and the third is to serve academic services. The results showed that most were at high level. For the perceived differences of brand identity grouping by GPA, using One-way ANOVA and Least Significant Difference to test 7 components and their sub-components. The result found that there were 5 components had statistically significant differences at level 0.05, which were component 1, Organizational Culture and Self-perception of Personnel in the Organization. Component 2, Physique: the Appearance. Component 3, the Ability to Reflect the Brand Identity. Component 4, Personality, and component 5, Relationship with Brand.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายต่ออัตลักษณ์แบรนด์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativePerception of High School Students Towards Brand Identity of Faculty of Agriculture, Chiang Mai Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. คณะเกษตรศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย -- ไทย(ภาคเหนือ)-
thailis.controlvocab.thashชื่อตราผลิตภัณฑ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายต่ออัตลักษณ์แบรนด์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและความแตกต่าง การรับรู้ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายตามองค์ประกอบอัตลักษณ์แบรนด์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ศึกษาได้ดำเนินการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจากนักเรียนมัธยมตอนปลาย ที่เรียนแผนวิทย์-คณิต ในเขตภาคเหนือตอนบน 9 จังหวัด จำนวน 19 โรงเรียนตามองค์ประกอบของ อัตลักษณ์แบรนด์ที่ใช้ในการศึกษานี้ตามแนวคิด “Kapferer’s Brand Identity Prism” ที่มีต่อองค์ประกอบ 6 ด้านของอัตลักษณ์แบรนด์ ผลการศึกษา พบว่า มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 570 คน เป็นเพศหญิง จำนวน 404 คน และเป็นเพศชาย จำนวน 166 คน ส่วนใหญ่มีอายุ 16 ปี เรียนอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน มีช่วงเกรดเฉลี่ย 3.51 – 4.00 สังกัดโรงเรียนรัฐบาล อาชีพบิดา/มารดาเป็นพนักงานเอกชน/รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ รายได้ของครอบครัวมีช่วงรายได้ครอบครัว 10,001 – 20,000 บาท ส่วนใหญ่ไม่รู้จักรุ่นพี่ที่มาเรียน ที่คณะเกษตรศาสตร์ และไม่เคยมีรุ่นพี่ที่เรียนคณะเกษตรศาสตร์ มาแนะแนวเกี่ยวกับการเข้าศึกษาต่อในคณะเกษตรศาสตร์ที่โรงเรียน และส่วนใหญ่ไม่สนใจเข้าเรียนคณะเกษตรศาสตร์ถึงแม้จะมีทุนการศึกษาให้ก็ตาม ผลการวิเคราะห์องค์ประกอบองค์เชิงสารวจที่มีผลการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายต่ออัตลักษณ์แบรนด์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวนองค์ประกอบ 7 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 วัฒนธรรมองค์กรและการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของบุคลากรในองค์กร องค์ประกอบที่ 2 กายภาพ : รูปโฉมของสิ่งที่ปรากฏ องค์ประกอบที่ 3 ความสามารถใน การสะท้อนตัวตนแบรนด์ องค์ประกอบที่ 4 บุคลิกภาพ องค์ประกอบที่ 5 ความสัมพันธ์กับแบรนด์ องค์ประกอบที่ 6 กายภาพ : สื่อสารภายนอก องค์ประกอบที่ 7 กายภาพ : คุณค่าสิ่งที่ปรากฏ ผลการการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยเพื่อศึกษาการรับรู้ภาพลักษณ์การเป็นสถาบันการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์เกษตรที่ทันสมัยในองค์ประกอบ 3 ด้านการผลิตบัณฑิต งานวิจัยที่เป็นเลิศ และ การบริการวิชาการ ของคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่าส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ผลการวิเคราะห์ความแตกต่างของการรับรู้ตามองค์ประกอบอัตลักษณ์แบรนด์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตามกลุ่มเกรดเฉลี่ย โดยใช้สถิติผลการวิเคราะห์แบบ One-way ANOVA และทดสอบความแตกต่างด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อยที่สุด ขององค์ประกอบทั้ง 7 องค์ประกอบ และองค์ประกอบย่อย พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ณ ระดับ 0.05 คือ องค์ประกอบที่ 1 วัฒนธรรมองค์กรและการรับรู้เกี่ยวกับตนเองของบุคลากรในองค์กร องค์ประกอบที่ 2 กายภาพ : รูปโฉมของสิ่งที่ปรากฏ องค์ประกอบที่ 3 ความสามารถในการสะท้อนตัวตนแบรนด์ องค์ประกอบที่ 4 บุคลิกภาพ และองค์ประกอบที่ 5 ความสัมพันธ์กับแบรนด์en_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.