Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73492
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อริศรา เจริญปัญญาเนตร | - |
dc.contributor.author | พิชชาทร มีมา | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-03T08:15:47Z | - |
dc.date.available | 2022-07-03T08:15:47Z | - |
dc.date.issued | 2021-05 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73492 | - |
dc.description.abstract | The study of "Assessing Productivity from Monitoring Growth Stage of Dry Season Rice with Backscatter Coefficient from Sentinel-1" has two objectives; 1) to monitor and find the relationship between the growths and the productivity of dry season rice with backscatter coefficient from Sentinel-1 and 2) to create the model for assessing productivity by using the backscatter coefficient according to growth stages of rice in Phichai district, Uttaradit province. The relative orbit number at 17 of Sentinel-1, GRD product, were used to apply in this study by using 16 datasets during November 2017 - May 2018. Field surveying was conducted to collect data on 34 paddy fields from farmers which is Pathum Thani 1 rice. This is for recording the boundaries, the crop start date, the crop harvest date, and yield of rice. The growth stage of rice was divided into three phases: 1) vegetative phase, 2) reproductive phase, and 3) ripening phase. The results showed that each growth phase of rice has a change in the backscatter coefficient and different scattering mechanisms and distinguished by the characteristics of the rice fields at each growth phase both VH and VV polarization. Subsequently, multiple linear regression was used to create a model for assessing dry season rice productivity. The backscatter coefficient was determined as an independent variable and the dry season rice yield was a dependent variable. The data extraction was divided into two patterns, the first pattern is the extraction of the backscatter coefficient in the whole sample rice field and the second pattern is the extraction of the backscatter coefficient at the sample point in the rice field. The most effective model from this study was the model using the maximum and mean backscatter coefficients in the whole sample rice field, VV polarization, unit is yield per rai, R Squared = 0.869, Adjusted-R Squared = 0.828, Predicted-R Squared = 0.784, and RMSE = ±40.08 kg/rai. Then, the model was used to create the productivity map of dry season rice in the other rice fields. This was performed through the process of selecting the rice fields and specifying the crop start date obtained from the study of changes in the backscatter coefficient and the normalized vegetation difference index (NDVI). The result showed that, during 2017 to 2018, 2018 to 2019, and 2019 to 2020, rice planting areas was 64,833, 61,877, and 43,895 rai, the total productivity was 48,591 46,104, 33,446 tons, and the yield per rai was 759.0, 758.6 and 767.8 kg. per rai, respectively. The rice planting areas and the total productivity are different in terms of quantity. However, the pattern of change in rice planting areas and the total productivity during the study year was consistent when compared with the dry season rice yield data from the Office of Agricultural Economics. While the yield per rai from the study of Pathum Thani 1 rice variety was similar to data from the Division of Rice Research and Development, Rice Department. This study is based on data from satellites in synthetic aperture radar (SAR) systems that have the potential to penetrate the atmosphere. It is unique in that it releases energy waves from itself, recorded data both day and night, free access, high frequency, and coverage all the world. Which is the highlight of the system for using in monitoring and evaluating rice yields. This makes it could know the yield of rice for future planning. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การประเมินผลผลิตจากการติดตามการเจริญเติบโตของข้าวนาปรังโดยค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับจากดาวเทียมเซนติเนลวัน | en_US |
dc.title.alternative | Assessing productivity from monitoring growth stage of dry season rice with backscatter coefficient from sentinel-1 | en_US |
dc.type | Thesis | |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- การปลูก | - |
thailis.controlvocab.thash | ข้าว -- การเจริญเติบโต | - |
thailis.controlvocab.thash | ดาวเทียมในการเกษตร | - |
thailis.controlvocab.thash | ดาวเทียมในการวิเคราะห์ข้อมูลระยะไกล | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษา "การประเมินผลผลิตจากการติดตามการเจริญเติบโตของข้าวนาปรังโดยค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับจากดาวเทียมเซนติเนลวัน" มีวัตถุประสงค์การศึกษา คือ 1) เพื่อติดตามและหาความสัมพันธ์ระหว่างการเจริญเติบโตและผลผลิตของข้าวนาปรังด้วยค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับจากดาวเทียมเซนติเนลวัน และ 2) เพื่อสร้างแบบจำลองสำหรับประเมินผลผลิตข้าวนาปรังโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับ (Backscatter Coefficient) ตามขั้นตอนการเจริญเติบโตของข้าวบริเวณพื้นที่อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ การดำเนินการศึกษาเป็นการนำข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเซนดิเนลวัน SIA ผลิตภัณฑ์แบบ GRD วงโคจรสัมพันธ์ที่ 172 จำนวน 16 ชุดข้อมูล ในช่วงเดือนพฤสจิกายน 2560- พฤษภาคม 2561 มาใช้ในการศึกษาา นอกจากนั้นยังได้ดำเนินการสำรวจภาคสนามเพื่อเก็บข้อมูลแปลงนาข้าวจากเกษตรกรทั้งสิ้น 34 แปลง เป็นข้าวสายพันธุ์ปทุมธานี 1 บันทึกข้อมูลขอบเขตพื้นที่วันที่เริ่มต้นการเพาะปลูก วันที่เก็บเกี่ยวผลผลิตและปริมาณผลผลิต โดยแบ่งช่วงเวลาการเจริญเติบโตของข้าวออกเป็นสามช่วงเวลาสำหรับวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ได้แก่ 1.ช่วงการเจริญเติบโตทางด้านลำต้นและ ใบ 2. ช่วงการเจริญเติบโตด้านการสืบพันธุ์ 3. ช่วงแก่และสุก ผลการศึกษาพบว่า ในแต่ละช่วงเวลาการเจริญเติบโตของข้าวเกิดการเปลี่ยนแปลงของค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับและกลไกการกระเจิงที่แตกต่างกันและโดดเด่นตามลักษณะแปลงนาข้าวในแต่ละช่วงเวลาการเจริญเติบโต ทั้งโพลาไรเซชันแบบ VH และ VV ต่อมาการวิเคราะห์การถถอยชิงเส้นพหุคูณถูกนำมาใช้ในการสร้างแบบจำลองสำหรับประเมินผลผลิตข้าวนาปรัง โดยกำหนดค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับเป็นตัวแปรอิสระ และผลผลิตข้าวนาปรังเป็นตัวแปรตาม แบ่งการสกัดข้อมูลออกเป็นสองรูปแบบ ได้แก่ การสกัดค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับในพื้นที่แปลงนาตัวอย่างทั้งหมด และการสกัดค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับ ณ จุดตัวอย่างในพื้นที่แปลงนาแบบจำลองที่มีประสิทธิภาพมากที่สุดจากการทดลองได้แก่ แบบจำลองที่ใช้ค่าสูงสุดและค่าเฉลี่ยค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับในพื้นที่แปลงนาตัวอย่างโพลาไรเซชันแบบ VV หน่วยผลผลิตต่อไร่ ค่า R Squared เท่ากับ 0.869 ค่า Adjusted-R Squared เท่ากับ 0.828 ค่า Predicted-R Squared เท่ากับ 0.784 และ ค่า RMSE เท่ากับ ±40.08 กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นได้นำแบบจำลองที่ได้มาสร้างแผนที่ผลผลิตข้าวนาปรังในแปลงนาอื่น ๆ โดยผ่านกระบวนการคัดเลือกแปลงนาข้าวและระบุวันที่เริ่มต้นการเพาะปลูก ที่ได้จากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับและดัชนีผลต่างพืชพรรณแบบนอร์มัลไลซ์ พบว่า ช่วงปี พ.ศ.2560-2561 ช่วงปี พ.ศ.2561 - 2562 และ ช่วงปี พ.ศ. 2562 - 2563 มีพื้นที่ปลูกข้าวคิดเป็น 64.833 61,877 และ 43,895 ไร่ ตามลำดับ ปริมาณผลผลิตรวมคิดเป็น 48,591 46,104 และ 33,446 ตัน ตามลำดับ และผลผลิตต่อไร่คิดเป็น 159,.0 738.6 และ 767:8 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ โดยพื้นที่ปลูกข้าวและปริมาณผลผลิตรวมที่พบมีความแดกต่างกันในแง่ของจำนวน แต่รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ปลูกข้าวและปริมาณผลผลิตรวมในช่วงปีที่ศึกษามีความสอดคล้องกัน เมื่อเปรียบเทียบกับข้อมูลผลผลิตข้าวนาปรังจากสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ขณะที่ผลผลิตต่อไร่จากการศึกษาข้าวสายพันธุ์ปทุมธานี 1 มีความใกล้เคียงกันกับข้อมูลจากกองวิจัขและพัฒนาข้าว กรมการข้าว ทั้งนี้จะเห็นว่าการศึกษาครั้งนี้เป็นการนำข้อมูลจากดาวเทียมในระบบเรดาร์ช่องเปิดสังเคราะห์ที่มีศักยภาพในการทะอุทะลวงชั้นบรรยากาศ มีลักษณะเฉพาะที่ปล่อยคลื่นพลังงานจากตัวเอง สามารถบันทึกข้อมูลได้ทั้งกลางวัน-กลางคืน เข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ความละเอียดเชิงเวลาสูง และบันทึกภาพครอบคลุมทั่วโลกซึ่งเป็นจุดเด่นของระบบสำหรับนำมาใช้ในการติดตามและประเมินผลผลิตข้าว ทำให้สามารถทราบผลผลิตของข้าวเพื่อเป็นประโยชน์ในการวางแผนต่อไป | en_US |
Appears in Collections: | SOC: Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590431022 พิชชาทร มีมา.pdf | 21.26 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.