Please use this identifier to cite or link to this item:
http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73491
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พรชนิตว์ ลีนาราช | - |
dc.contributor.author | มติ ศิริพันธุ์ ทิพย์จักราธิวงศ์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-03T07:57:17Z | - |
dc.date.available | 2022-07-03T07:57:17Z | - |
dc.date.issued | 2021-02 | - |
dc.identifier.uri | http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73491 | - |
dc.description.abstract | The aim of this study was to study the efficiency of pictures and colors in classification in middle-high school library in case of Chakkham Khanathorn School. The effectiveness studied were System Quality, Information Quality, Service Quality, Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use and Net Benefit by using Research and Development methods. Data were collected by using questionnaires form. The population consisted of 354 students from Chakkam Khanathorn School, Lamphun Province with the level of Mathayomsuksa 1 to Mathayomsuksa 6. Devided by using stratified random sampling method, there were 59 students in each Mathayonsuksa 1 - Mathayomsuksa 6, where the data were collected at 354 students, or 100%. The statistics used to analyze the data are sample size determination by Taro Yamane method, examining the confidence of the questionnaire by using Cronbach's Alpha coefficient, Frequency, Mean, F-test, Correlation, Multiple Linear Regression and Q-test. The results of the efficacy study of the use of pictures and colors in classification in middle- high school library in case of Chakkham Khanathorn School showed that the Overall System Quality, Information Quality, Service Quality, Perceived Usefulness and Perceived Ease of Use had a high significant effect on the user satisfaction in the library. In particular, Net Benefit had a highest significant effect on the satisfaction of library users at confidence level 95%. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ | en_US |
dc.title | การนำภาพและสีมาใช้ในการจัดหมวดหมู่ในห้องสมุดโรงเรียนมัธยม : กรณีศึกษา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน | en_US |
dc.title.alternative | Using pictures and colors for classification in a Secondary School's Library : A case study of Chakkham Khanathorn School, Lamphun | en_US |
dc.type | Independent Study (IS) | |
thailis.controlvocab.thash | โรงเรียนจักรคำคณาทร | - |
thailis.controlvocab.thash | การจัดหมวดหมู่ | - |
thailis.controlvocab.thash | การวิเคราะห์หนังสือ | - |
thailis.controlvocab.thash | ห้องสมุดโรงเรียน -- ลำพูน | - |
thailis.controlvocab.thash | ห้องสมุดและบริการของห้องสมุด | - |
thesis.degree | master | en_US |
thesis.description.thaiAbstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการนำภาพและสีมาใช้ในการจัดหมวดหมู่ในห้องสมุดโรงเรียนมัธยม : กรณีศึกษา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน โดยประสิทธิภาพที่ศึกษาได้แก่ คุณภาพระบบ (System Quality) คุณภาพข้อมูล (Information Quality) คุณภาพการบริการ (Service Quality) การรับรู้ประโยชน์ (Perceived Usefulness) การรับรู้ความง่ายในการใช้งาน (Perceived Ease of Use) และประสิทธิภาพโดยรวม (Net Benefit) โดยใช้วิธีวิจัยแบบเชิงวิจัยและพัฒนา (Research and Development) รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ประชากรได้แก่นักเรียนจากโรงเรียนจักรคำกณาทร จังหวัดลำพูน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 354 คน โดยใช้การคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีของ Taro Yamane แบ่งตามชั้นภูมิเป็นนักเรียนระดับชั้น ม.1 ม.6 ระดับละ 59 คน เก็บข้อมูลได้จำนวน 354 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตรวจสอบค่ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งสองแบบ โคยใช้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของ ครอนบาค (Cronbach's AIpha) ได้ค่า 0.94 และ 0.98 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) ค่าสถิติ F-test ค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) ค่าสัมประสิทธิของค่าประมาณการจากสมการถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Linear Regression) และค่าสถิติในการทดสอบ Q-test ผลการศึกษาประสิทธิภาพในการนำภาพและสีมาใช้ในการจัดหมวดหมู่ในห้องสมุดโรงเรียนมัธยม : กรณีศึกษา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน พบว่าคุณภาพระบบโดยรวม (Overall System Quality) ประสิทธิภาพโดยรวมของคุณภาพข้อมูลโดยรวม (Information Quality) ประสิทธิภาพของคุณภาพการบริการโดยรวม (Service Quality) ประสิทธิภาพการรับรู้ประโยชน์โดยรวม (Perceived Usefulness) ประสิทธิภาพของการรับรู้ความง่ายในการใช้งาน โดยรวม (Perceived Ease of Use) มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในห้องสมุดอยู่ในระดับมากอย่างมีนัยสำคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 และประสิทธิภาพของประสิทธิภาพโดยรวม (Net Benefit) มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการในห้องสมุดอยู่ในระดับมากที่สุดอย่างมีนัยสำคัญอย่างชัดเจน ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 | en_US |
Appears in Collections: | HUMAN: Independent Study (IS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
590132023 มติ ทิพย์จักราธิวงศ์.pdf | 4.82 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.