Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAranya Siriphon-
dc.contributor.advisorYos Santasombat-
dc.contributor.advisorTa Wei Chu-
dc.contributor.authorLan Xiaoxiaen_US
dc.date.accessioned2022-07-03T06:07:15Z-
dc.date.available2022-07-03T06:07:15Z-
dc.date.issued2021-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/73485-
dc.description.abstractThe proliferation of new wave of Chinese migrants has been moving outbound dramatically since 1990s onward. In Thailand, and particularly in Chiang Mai, the new Chinese migrants do not only incorporate with secularly economic opportunity during their mobility, but they also engage with sacredly social-cultural activities they participate religiously within Thai locality. Today, there are the more increase of Chinese Christian churches, and especially the Christianity participations of the new Chinese migrants in several mobile Chinese groups of: 'peidu' mama or study mothers, businesspeople, students, and retirees. This research explores the situation of new Chinese migrants temporarily residing in Chiang Mai city and their engagement in religious practices and the converted experiences to Christianity. I examine how religious enchantment of the new Chinese migrants have been formed newly, and what roles of Chinese Christian churches are in encouraging religious enchantment among the new Chinese migrants. Particularly, the study addresses the issue of Chinese gender and family norms, how the new Chinese migrants interpret Christianity to negotiate with traditional Confucian gender and family values. The study is sociological research, employing the notion of 'religious enchantment' to investigate the non-belief Chinese migrants converting to Christianity conceptually perform within the three stages of encounter, initiation, and commitment process. The study applies qualitative methods: formal and informal interviews, fieldwork, and participant observation when volunteering for several months at the Chinese churches. The semi-structured interviews with 25 Chinese migrants converted to be Christian members in three Chinese Christian Churches in Chiang Mai are conducted ethnographically. The finding of this dissertation is as follows. 1) Under the economic rise of China in which gaining more global economic power but pressuring the actively forced modernization and intensively ideological socialism in China, International mobility practices of the new Chinese migrants has provided relative opportunity to them not only to engage secular world in economic and business outside China, but it also allows them to experience newly the sacred world and religious enchantment. 2) The case studies of Chiang Mai Chinese Christian churches have revealed that Chinese Christian churches have played an important role in the religious enchantment of the new Chinese migrants. They help the new Chinese migrants enlarge their family relationships and provide them a social platform in a new unfamiliar place. Particularly, the Christian churches become a site of spiritual rescuer for Chinese women, who are attracted by the family-alike social communities living in a new unfamiliar place. The Chinese Christian Churches and its religious practices also assist new Chinese migrants to regain a sense of moral values and life realization during the mobility outside China. 3) The research finds that the new Chinese diapora's religious conversion is a continually three-stage process (encounter, initiation, and commitment), the Chinese migrants converts cultivate a sense of belonging in both Christianity (religious conversion) and the Chinese Christian church (Chinese community belonging). Hence, their religious conversion can be seen as a process of 'believing through belong'. 4) The research also finds that Christianity is enchanted intensively and expansively by particularly female Chinese mothers, becoming female Chinese Christians at the church. It is found that the female Chinese Christians have strategically utilized Christianity interpretation, deploying the tactics of 'obedience' and 'reversed patriarchal bargaining', to negotiate with traditional gender and family relationship. This is an attempt, as an ongoing desire, to reduce the inferior status encountered paradoxically by traditional Confucian gender and family values.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleNew chinese mobility and religious enchantment: Case study of chinese christian s practices in Chiang Mai Cityen_US
dc.title.alternativeการเคลื่อนย้ายของชาวจีนรุ่นใหม่และความคลั่งไคล้ทางศาสนา กรณีศึกษาปฏิบัติการของคริสเตียนจีนในเมืองเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshChristianity--Chiang Mai-
thailis.controlvocab.lcshMotivation in Christian education-
thailis.controlvocab.lcshChristian education-
thailis.controlvocab.lcshChinese--Freedom of religion-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการเพิ่มขยายของผู้ย้ายถิ่นชาวจีนคลื่นลูกใหม่ได้เคลื่อนย้ายออกมาเป็นจำนวนมาก นับตั้งแต่ปี 1990 เป็นต้นมา ในกรณีของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ผู้ย้ายถิ่นชาวจีนรุ่นใหม่ไม่เพียงแต่รวมตัวเองเข้ากับโอกาสทางเศรษฐกิจของโลกระหว่างการเคลื่อนย้าย แต่พวกเขายังมีส่วนร่วมกับกิจกรรมทางสังคม – วัฒนธรรมทางธรรมที่พวกเขามีส่วนร่วมทางศาสนาในท้องถิ่นของไทย ปัจุบันคริสตจักรคริสเตียนจีนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมทางศาสนาคริสต์ของผู้ย้ายถิ่นฐานชาวจีนรุ่นใหม่ในกลุ่มชาวจีนที่เคลื่อนย้ายหลากหลายกลุ่ม เช่น กลุ่ม "เพ่ดู๋ มาม๊" หรือกลุ่มแม่เลี้ยง (ดูแลด้านการเรียน) กลุ่มนักธุรกิจ นักเรียน และผู้เกษียฌอายุ งานวิจัยนี้สำรวจสถานการณ์ของผู้อพยพชาวจีนใหม่ที่อาศัยอยู่ในเมืองเชียงใหม่ชั่วคราวและการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติทางศาสนาและประสบการณ์ที่เปลี่ยนศาสนามาเลื่อมใสศาสนาคริสต์ ผู้วิจัยต้องการศึกษาถึงวิธีการว่าความคลั่งไคล้ศาสนาทางศาสนาของผู้อพยพชาวจีนใหม่ได้ก่อตัวขึ้นใหม่ได้อย่างไร และคริสตจักรคริสเตียนจีนมีบทบาทอย่างไรในการกระตุ้นให้เกิดความคลั่งไคล้ทางศาสนาในหมู่ผู้อพพชาวจีนใหม่ โดยฉพาะอย่างยิ่ง งานศึกษานี้ได้กล่าวถึงประเด็นเรื่องเพศและบรรทัดฐานของครอบครัวชาวจีนว่า ผู้อพยพชาวจีนรุ่นใหม่ตีความศาสนาคริสต์อย่างไรเพื่อต่อรองกับเรื่องเพศแบบขงจื้อและค่านิยมของครอบครัวในแบบจารีต การศึกษานี้เป็นการวิจัยทางสังคมวิทยาโดยใช้แนวคิดเรื่อง “ความคลั่งไคล้ทางศาสนา” ในการสำรวจถึงผู้อพยพชาวจีนที่ไม่ได้ศรัทธาในศาสนาหันมาเปลี่ยนนับถือศาสนาคริสต์ ซึ่งแสดงออกมาในเชิงกรอบคิด ภายในสามขั้นตอนคือ กระบวนการของการเผชิญหน้า กระบวนพิธีรับเข้าและกระบวนการยึดมั่น การศึกษานี้ใช้วิธีการเชิงคุณภาพ: ด้วยการสัมภาษณ์อย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ การลงพื้นที่ภาคสนาม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วม จากการได้เข้าไปเป็นอาสาสมัครที่คริสตจักรจีนเป็นช่วงเวลาหลายเดือน เป็นการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างที่ดำเนินงานในเชิงชาติพันธุ์วรรณนากับผู้อพยพชาวจีน 25 คนที่เปลี่ยนศาสนาเป็นสัปบุรุษคริสเตียนในคริสตจักรจีนสามแห่งในเชียงใหม่ ข้อคั่นพบของวิทยานิพนธ์นี้มีดังนี้ 1) ภายใต้การเติบโตทางเศรษฐกิจของจีนซึ่งได้รับอำนาจทางเศรษฐกิจทั่วโลกมากขึ้น แต่ยังกดดันให้เกิดความทันสมัยที่ถูกบังคับอย่างแข็งขันและลัทธิสังคมนิยมอย่างเข้มข้นในประเทศจีน แนวปฏิบัติด้านการเคลื่อนย้ายระหว่างประเทศของผู้อพยพชาวจีนใหม่ได้ให้โอกาสที่สัมพันธ์กับพวกเขาไม่เพียงแต่การมีส่วนร่วมกับโลกวิสัยในทางเศรษฐกิจและธุรกิจนอกประเทศจีน แต่ยังช่วยให้พวกเขาได้สัมผัสกับโลกทางธรรมและภวังค์ศาสนาแบบใหม่ 2) กรณีศึกษาของคริสตจักรจีนเชียงใหม่เผยให้เห็นว่าคริสตจักรจีนมีบทบาทสำคัญต่อความคลั่งไคล้ทางศาสนาของชาวจีนที่ย้ายถิ่นฐานใหม่ พวกเขาช่วยให้ผู้ช้ายถิ่นชาวจีนรุ่นใหม่ขยายความสัมพันธ์ในครอบครัวและเป็นพื้นที่ทางสังคมในสถานที่ใหม่ที่ไม่คุ้นเคย โดยเฉพาะอย่างยิ่งคริสตจักรกลายเป็นสถานที่ช่วยเหลือทางจิตวิญญาณสำหรับผู้หญิงจีนซึ่งได้รับความสนใจจากชุมชนทางสังคมที่เป็นเหมือนครอบครัวในสถานที่ใหม่ที่ไม่คุ้นเคย คริสตจักรจีนและการปฏิบัติทางศาสนายังช่วยให้ผู้อพยพชาวจีนใหม่ ๆ ได้รับรู้ถึงคุณค่าทางศีลธรรมและการสำนึกในชีวิตช่วงระหว่างการเคลื่อนย้ายออกนอกประเทศจีน 3) การวิจัยพบว่าการเปลี่ยนศาสนาของชาวจีนรุ่นใหม่เป็นกระบวนการสามขั้นตอนอย่างต่อเนื่อง (การเผชิญหน้า การเริ่มดัน และความมุ่งมั่น) ผู้อพยพชาวจีนเปลี่ยนความเสื่อมใสศรัทธาด้วยการพัฒนาจากความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งทั้งในศาสนาคริสต์ (การเปลี่ยนศาสนา) และคริสตจักรจีน (การเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนชาวจีบ) ดังนั้นการเปลี่ยนศาสนาของพวกเขาจึงถูกมองว่าเป็นกระบวนการของ "การเชื่อศรัทธาโดยผ่านการเป็นส่วนหนึ่ง" 4) การวิจัยยังพบว่าศาสนาคริสต์ไใด้สร้างความคลั่งไคล้ทางศาสนาอย่างเข้มข้นและกว้างขวางในกลุ่มคุณแม่ชาวจีนที่กลายเป็นคริสเตียนหญิงชาวจีนที่โบสถ์ จึงพบว่าสตรี ชาวจีนนับถือศาสนาคริสด์ได้ใช้กลยุทธ์ในการตีความศาสนาคริสต์โดยการปรับใช้กลยุทธ์ของ "การเชื่อฟัง" และ "การต่อรองแบบปิตุภูมิที่ย้อนกลับกัน" เพื่อเจรจาต่อรองกับเพศสภาพและความสัมพันธ์ในครอบครัวเชิงจารีต สิ่งเหล่านี้จึงเป็นความพยายามในฐานะความปรารถนาที่ดำเนินอยู่ เพื่อลดสถานะที่ด้อยกว่าที่เผชิญกันอย่างขัดแช้งด้วยกับเพศแบบขงจื้อและค่านิยมของครอบครัวในแบบจารีตen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
560455801 XIAOXIA LAN.pdf5.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.